Musculoskeletal Disorders ศัพท์ Flashcards

1
Q

Osteoporosis

A

โรคกระดูกพรุน

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
2
Q

Osteomalacia

A

โรคกระดูกอ่อน โรคกระดูกผุ

เพราะ รับแสงไม่พอ ขาดวิตามินดี ตับอ่อนอักเสบเรื้อรัง

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
3
Q

Paget’s disease

A

โรคพาเจทของกระดูก

เป็นโรคกระดูกเรื้อรังที่เร่งกระบวนการสลายกระดูกเนื้อกระดูกเก่าและการสร้างกระดูกใหม่ ทำให้กระดูกของผู้ป่วยเปราะบาง มีรูปร่างผิดปกติและอ่อนแอ ส่วนใหญ่จะเกิดกับกระดูกเชิงกราน กระดูกสันหลัง กระโหลกศีรษะ และกระดูกขา โดยพบในหมู่ผู้สูงอายุมากกว่าช่วงวัยอื่น

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
4
Q

Gout

A

โรคเกาต์

จัดเป็นโรคข้ออักเสบเฉียบพลันที่พบได้บ่อยที่สุดในมนุษย์ โรคนี้เกิดจากความผิดปกติในขบวนการเมตะบอลิสซั่มของกรดยูริกในร่างกาย เป็นผลให้กรดยูริกในเลือดมีค่าสูงกว่าปกติ เกิดการตกตะกอนเป็นผลึกเกลือยูเรต (monosodium urate) สะสมในเนื้อเยื่อต่าง ๆ ของร่างกาย โดยเฉพาะข้อและไต
เมื่อมีอาการแสดงเต็มที่ จะประกอบไปด้วย
อาการข้ออักเสบเฉียบพลัน
โรคข้ออักเสบเรื้อรัง
ทำให้ไตทำงานบกพร่อง
การเกิดนิ่วกรดยูริกในทางเดินปัสสาวะ (uric acid stone)
และการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางระบบหัวใจและหลอดเลือด

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
5
Q

Osteoarthritis

A

(ข้อเสื่อม)

เป็นอาการที่กระดูกอ่อน (Cartilage) ในข้อต่อกระดูกเสื่อมสภาพจากปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ เช่น อายุ การใช้งาน เป็นต้น การเสื่อมสภาพของกระดูกอ่อน ส่งผลให้กระดูกเสียดสีกันหรือเกิดแรงกดมากขึ้น จนทำให้เจ็บบริเวณข้อต่อและขยับข้อต่อลำบาก หากไม่รีบรักษา อาการอาจรุนแรงขึ้น หรือเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ โดยทั่วไปแล้ว Osteoarthritis มักเกิดบริเวณข้อนิ้วมือ เข่า สะโพก กระดูกสันหลัง และเกิดขึ้นได้กับทุกคน โดยเฉพาะผู้สูงวัยที่อายุมากกว่า 50 ปี

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
6
Q

Rheumatoid arthritis

A

โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์

เป็นโรคของข้อต่อที่เกิดจากการอักเสบเรื้อรังของเยื่อหุ้มข้อซึ่งอยู่บริเวณรอยต่อระหว่างกระดูก โดยจัดเป็นหนึ่งในกลุ่มโรคภูมิต้านตนเอง (autoimmune disease) ที่มีลักษณะเฉพาะคือมีการอักเสบรุนแรงของข้อโดยเฉพาะข้อนิ้วมือ ข้อนิ้วเท้า ซึ่งหากปล่อยทิ้งไว้จะส่งผลให้ข้อถูกทำลายและเกิดความพิการตามมาได้

ปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุแน่ชัดของการเกิดโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ แต่พบว่ามีส่วนสัมพันธ์กับโรคภูมิต้านตนเอง (autoimmune diseases) หรือการที่ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายทำร้ายเนื้อเยื่อตนเองจนทำให้เกิดการอักเสบ บวม และมีน้ำเพิ่มขึ้นในช่องข้อ ส่วนปัจจัยอื่นๆ ได้แก่ การถ่ายทอดทางพันธุกรรม และการติดเชื้อไวรัสหรือแบคทีเรีย

โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์พบได้บ่อยในสองช่วงอายุ คือ ช่วงอายุ 20-30 ปี และ 50-60 ปี โดยพบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
7
Q

Muscular dystrophy

A

โรคกล้ามเนื้อลีบ

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
8
Q

Osteomyelitis

A

กระดูกอักเสบ

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
9
Q

Septic arthritis

A

ข้ออักเสบจากการติดเชื้อ

เป็นการติดเชื้อบริเวณเนื้อเยื่อข้อต่อหรือน้ำไขข้อจนเกิดอาการอักเสบ ผู้ป่วยอาจมีอาการเกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน เช่น ปวดข้ออย่างรุนแรง ข้อต่อบวม และมีไข้ เป็นต้น ภาวะนี้มักเกิดจากการแพร่กระจายของเชื้อแบคทีเรียหรือไวรัสจากอวัยวะส่วนอื่นที่ส่งผ่านมาทางกระแสเลือด หรืออาจติดเชื้อโดยตรงผ่านทางบาดแผลเปิด การฉีดยา หรือหลังจากการผ่าตัด

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
10
Q

Scoliosis

Spinal deformities

A

กระดูกสันหลังคด

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
11
Q

Acute low back pain

A

อาการปวดหลังเฉียบพลัน

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
12
Q

Chronic low back pain

A

อาการปวดหลังเรื้อรัง

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
13
Q

Carpal tunnel syndrome (CTS)

A

พังผืดกดทับเส้นประสาทข้อมือ

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
14
Q

Degenerative disc disease

A

หมอนรองกระดูกสันหลังเสื่อม

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
15
Q

Arthritis

A

ข้ออักเสบ

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
16
Q

Bunions

A

นิ้วหัวแม่เท้าผิดรูป

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
17
Q

Bursitis

A

เบาน้ำอักเสบ

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
18
Q

Cervical disc disease

A

กระดูกทับเส้น หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
19
Q

Hammertoes

A

นิ้วเท้าหงิกงอผิดปกติ ข้อยึด

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
20
Q

Muscle cramps

A

ตะคริว

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
21
Q

Sports injuries

A

การบาดเจ็บทางการกีฬา

22
Q

Strains

A

กล้ามเนื้อฉีก

23
Q

Sprains

A

อาการเคล็ด

24
Q

Sprain and dislocation

A

ขอเคล็ดและข้อเคลื่อน

25
Tendinitis
เอ็นอักเสบ
26
Ewing sarcoma
มะเร็งเนื้องอกอีวิง เนื้องอกที่เป็นเนื้อร้ายของกระดูกในวัยเด็ก โดยทั่วไปพบในอายุระหว่าง 5-15ปี
27
Exostosis ˌeksäˈstōsis
ปุ่มกระดูกงอกขึ้นบนผิวกระดูก - โดยทั่วไปเกิดที่กระดูกยาว - Osteochondromas; composed of cartilage and bone เนื้องอกเกิดจากการรวมตัวติดกันของกระดูกอ่อนและกระดูก - ตาปลาบนนิ้วเท้า มีอาการบวมที่โคนของหัวแม่เท้าเนื่องจากถุงไขข้ออักเสบ
28
Fracture
กระดูกแตกหัก
29
Talipes equinovarus
โรคเท้าปุก, บิด, เป๋ - ความผิดปกติแต่กำเนิดของกระดูกข้อเท้า (อาการเท้าแป)
30
Spondylitis
การอักเสบของข้อต่อกระดูกสันหลัง Inflammation of the joints of the backbones
31
Dislocation
กระดูกเคลื่อน
32
Ganglion cyst
ถุงน้ำสะสมที่ข้อ (ซิสท์) - การสะสมของของเหลวที่ข้อต่อหรือเอ็นกล้ามเนื้อ โดยเฉพาะบริเวณข้อมือ
33
Herniation of an intervertebral disk(disc)
จานกระดูกสันหลังเคลื่อน - ความผิดปกติของจานกระดูกยื่นปูดออกมาที่ช่องไขสันหลังหรือร่องเส้นประสาทสันหลัง
34
Lyme disease (Lyme arthritis)
โรคข้ออักเสบติดเชื้อ -ปวดตามกล้ามเนื้อ (myalgia) และอ่อนเพลียจากการติดเชื้อแบคทีเรียจากเห็บหรือหมัด
35
Systemic lupus Erythematosus (SLE)
อาการผื่นวงแดง - การอักเสบเรื้อรังจากโรคภูมิต้านทานของข้อ, ผิวหนัง, ไต, หัวใจ, ปอดและระบบประสาทส่วนกลาง
36
Polymyositis
กล้ามเนื้ออักเสบหลายมัด
37
Arthrocentesis
การเจาะตรวจไขข้อ
38
Arthrography
การถ่ายภาพรังสีเอกซเรย์ข้อ
39
Bone density test (bone densitometry)
การตรวจความหนาแน่นของกระดูก
40
Arthroscopy
การใช้กล้องส่องตรวจภายในข้อ
41
Bone scan
การตรวจวัดกระดูกโดยใช้สารกัมมันตภาพรังสี
42
Computed tomography(CT scan)
การถ่ายภาพรังสีคอมพิวเตอร์
43
Diskography
การถ่ายภาพรังสีเอกซเรย์หมอนรองกระดูกสันหลัง
44
Electromyography(EMG)
การบันทึกภาพคลื่นไฟฟ้าการหดตัวของกล้ามเนื้อ
45
Erythrocyte sedimentation rate(ESR)
การตรวจอัตราการนอนก้นเม็ดเลือดแดง
46
Magnetic resonance imaging of soft tissue(MRI)
การตรวจสอบโดยระบบสร้างภาพการสั่นพ้องของสนามแม่เหล็กของเนื้อเยื่ออ่อน
47
Muscle biopsy
การตรวจชิ้นเนื้อของกล้ามเนื้อ
48
Rheumatoid factor test(RF)
การตรวจหาภูมิคุ้มกันโรคไขข้ออักเสบ
49
Serum calcium(CA)
การตรวจระดับแคลเซี่ยมในน้ำเหลือง
50
Serum creating kinase(CK) | ˈkīnās
การตรวจระดับน้ำย่อยครีเอตีนไคเนสในน้ำเหลือง
51
Uric acid test
การตรวจกรดยูริกในน้ำเหลือง