1
Q

จำนวน สน.ผชท.ทหาร ไทย/ตปท. มีเท่าไร

A

24 สน.ผชท.ทหาร ไทย/ตปท. กับอีก 1 สน.ทปษ.คผถ.ฯ นครนิวยอร์ก

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
2
Q

วาระดำรงตำแหน่ง ผชท.ทหาร ไทย/ตปท. คือกี่ปี

A

3 ปี

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
3
Q

ระเบียบการดำเนินงานของ ผชท.ทหาร ไทย/ตปท. ใช้แนวทางตาม

A

ข้อบังคับ กห. ว่าด้วยการทูตฝ่ายทหาร ปี ๒๗

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
4
Q

สน.ผชท.ทหาร ในความดูแลของ บก.ทท.ที่จัดตั้งแล้ว

A

สน.ผชท.ทหาร ไทย/บราซิลเลีย และ สน.ผชท.ทหาร ไทย/พริทอเรีย

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
5
Q

ชื่อเต็มของตำแหน่งทูตทหารบรูไน

A

ผู้ช่วยทูตฝ่ายทหาร ไทย/บันดาร์เสรีเบกาวัน

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
6
Q

หนังสือเดินทางทูตออกแก่

A

(1) พระบรมวงศ์และพระนัดดาในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (2) พระอนุวงศ์ชั้นพระองค์เจ้าและคู่สมรส (3) พระราชวงศ์และบุคคลสำคัญที่ราชเลขาธิการขอไปเป็นกรณีพิเศษ (4) ประธานองคมนตรี และองคมนตรี (5) นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี (6) ประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธานและรองประธานวุฒิสภา (7) ประธานศาลฎีกา รองประธานศาลฎีกา และประธานศาลอุธรณ์ (8) ประธานศาลรัฐธรรมนูญ และประธานศาลปกครองสูงสุด (9) อดีตนายกรัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศ (10) ผู้บัญชาการทหารสูงสุด และผู้บัญชาการทหารเหล่าทัพ (11) ข้าราชการที่มีตำแหน่งทางการทูต ซึ่งเดินทางไปราชการในต่างประเทศ (12) ข้าราชการที่มีตำแหน่งทางการทูต ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ประจำอยู่ ณ ส่วนราชการในต่างประเทศ คู่สมรส และบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายซึ่งอยู่ในความดูแลของบิดามารดาในประเทศที่ประจำ อยู่หรือทำการศึกษาอยู่ในประเทศอื่น แต่บุตรจะต้องอายุไม่เกิน 25 ปี (13) คู่สมรสที่ร่วมเดินทางไปกับบุคคลดังกล่าวในข้อ (2) ถึงข้อ (8) (14) บุคคลอื่นใดเพื่อประโยชน์แก่ทางราชการหรือภายใต้พันธกรณีระหว่างประเทศ หรือภายใต้สถานการณ์พิเศษที่มีความจำเป็น หรือเกี่ยวกับการเผยแพร่ชื่อเสียง เกียรติคุณของประเทศ หรืออดีตเอกอัครราชทูต หรือในกรณีที่เห็นสมควร ให้ปลัด กระทรวงการต่างประเทศหรือผู้ที่ปลัดกระทรวงการต่างประเทศมอบหมาย มีอำนาจ ใช้ดุลยพินิจในการอนุมัติให้ออกหนังสือเดินทางทูตได้

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
7
Q

การไปเยือนอย่างเป็นทางการ คือ

A

ฝ่ายต่างประเทศมีหนังสือเชิญ

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
8
Q

แลกโล่ห์ทำกันเมื่อ

A

ผบ.ทสส. รับ ผบ.ทสส.ประเทศเยือน เข้าคำนับ

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
9
Q

ขอห้องรับรองพิเศษติดต่อ

A

บมจ.ท่าอากาศยานไทย

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
10
Q

วีซ่าในอาเซียน

A

ผู้ถือหนังสือเดินทางไปสามารถเข้าได้ทุกประเทศสมาชิกอาเซียนได้เกือบทุกประเทศ โดยไม่ต้องขอวีซ่า ยกเว้นประเทศเมียนมาร์ โดย 14 วันสำหรับการเดินทางไปบรูไนและกัมพูชา 21 วันสำหรับการเดินทางไปฟิลิปปินส์ และ 30 วันสำหรับการเดินทางไปอินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย สิงคโปร์ และเวียดนาม

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
11
Q

หนังสือเดินทางต้องมีอายุอย่างไรจึงจะใช้ได้

A

มีอายุมากกว่า 6 เดือนก่อนการเดินทางออกนอกประเทศ หากหนังสือเดินทางมีอายุไม่ถึง 6 เดือน จะต้องยื่นคำร้องขอหนังสือเดินทางใหม่ รวมทั้ง วีซ่าควรตรวจสอบกับสถานเอกอัครราชทูต/สถานกงสุลของประเทศที่กำลังจะเดินทางไป เกี่ยวกับข้อกำหนดต่างๆก่อนเดินทาง

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
12
Q

Blazer

A

สูทเข้ม / กางเกงอ่อน / ไม่ผูกไท้

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
13
Q

การยกเลิกการเดินทางเที่ยวบิน

A

อย่างไรก็ต้องจ่ายค่าปรับ ค่าปรับในประเทศ 500-1000 ต่างประเทศ 2000

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
14
Q

ของขวัญให้เมื่อ

A

ผบ.ทสส. ให้ ผบ.ทสส.ที่ต้อนรับ ในงานเลี้ยงรับรองอย่างเป็นทางการ

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
15
Q

ACDFIM คืออะไร จัดล่าสุดเมื่อใด หน่วยงานใดเกี่ยวเตรียมข้อมูลบ้าง

A

March 2013 - the 10th ASEAN Chiefs of Defence Forces Informal Meeting

ในการประชุม ขว.ทหาร ต้องเตรียมสารัตถะร่วมกับ ยก.ทหาร

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
16
Q

ผบ.ทสส.เบิกค่ารับรองได้ในภารกิจใด

A

การประชุม

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
17
Q

การเยือนต่างประเทศของ ผบช. หน่วยใดเป็นผู้รวบรวมข้อมูล หน่วยใดสนับสนุนข้อมูล

A

กทท.สวส.ขว.ทหาร โดยรวบรวมจาก กขย.สนข.ขว.ทหาร

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
18
Q

หลักฐานของการตรวจยื่นลงตรา

A

สำเนาทะเบียนบ้าน, บัตรประจำตัว, รูปถ่าย

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
19
Q

ระเบียบแบบแผนและประเพณีปฏิบัติทางการทูต ขอคำแนะนำได้จาก

A

กรมพิธีการทูต กระทรวงการต่างประเทศ

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
20
Q

หลักฐานในการเยือนต่างประเทศของ ผบช. ที่ต้องส่งให้ สปช.ทหาร ได้แก่

A

สำเนาหนังสือเชิญ / รายชื่อคณะเดินทาง / ประมาณการ ผบช. / ประมาณการค่าใช้จ่ายของคณะผู้ติดตาม

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
21
Q

หน่วยที่มีหน้าที่จดบันทึกการสนทนาของการเยี่ยมคำนับ

A

กภต.ขว.ทหาร

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
22
Q

การจัดธงหลัง ผบ.ทสส. เมื่อหันหน้าเข้าห้องเยี่ยมคำนับ

A

ธงไทยอยู่ซ้าย ต่างประเทศอยู่ขวา

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
23
Q

ธงบอกฝ่ายเล็กใช้อย่างไร

A

ธงฝ่ายใดอยู่หน้าฝ่ายนั้น

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
24
Q

นั่งแบ่งสองฝ่ายเยี่ยมคำนับ นั่งอย่างไร

A

หันเข้าหน้าห้องฝ่ายไทยอยู่ขวา

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
25
Q

นายทหารระดับสูงของต่างประเทศ จะมีการจัดนายทหารติดตาม (Escort Officer) นั่งที่ใดในการเยี่ยมคำนับ

A

นั่งอยู่กับฝ่ายต่างประเทศ

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
26
Q

หน่วยงานตรวจสอบ ผชท.ทหาร ต่างประเทศประจำไทย คือ

A

ศรภ.

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
27
Q

หน่วยงานใดเกี่ยวข้องกับการแต่งตั้ง ผชท.ทหาร ตปท.มาอยู่ในไทย

A

กต.และ กห.

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
28
Q

หัวหน้าคณะ ผชท.ทหาร ในไทยคือ

A

ผู้อยู่นานสุด

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
29
Q

การส่งหนังสือของ ผชท.ทหาร ต่างประเทศประจำไทย อย่างเป็นทางการ ส่งถืง

A

ผอ.สวส.ขว.ทหาร

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
30
Q

หน่วยงานใดมีหน้าที่ประสาน ผชท.ทหาร ตปท./กรุงเทพฯ

A

กทท.สวส.ขว.ทหาร

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
31
Q

เมื่อกองทัพต่างประเทศเปลี่ยน ผบช.ระดับสูง ผบ.ทสส.จะส่งหนังสือแสดงความยินดีไปเมื่อใด

A

เมื่อเข้ารับตำแหน่ง

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
32
Q

หน่วยงานที่มีหน้าที่ติดต่อ สน.ผชท.ทหาร ไทย/ตปท.

A

สวส.ขว.ทหาร

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
33
Q

เสธ.ทหาร ปัจจุบัน

A

พล.อ.เผด็จการ จันทร์เสวก

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
34
Q

MOU คือ

A

บันทึกความเข้าใจ / Memorandum of Understanding

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
35
Q

กรมฝ่ายเสนาธิการของ บก.ทท.

A

7 หน่วย คือ กพ.ฯ, ขว.ฯ, ยก.ฯ, กบ.ฯ, กร.ฯ, สส.ฯ, สปช.ฯ

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
36
Q

คำย่อของสำนักงานผู้ช่วยทูตฝ่ายทหาร

A

สำนักงานผู้ช่วยทูตฝ่ายทหาร ไทย/กัวลาลัมเปอร์ ย่อ สน.ผชท.ทหาร ไทย/กัวลาลัมเปอร์ ; สำนักงานที่ปรึกษาทางทหารประจำคณะผู้แทนถาวรไทยประจำสหประชาชาติ ณ นครนิวยอร์ก ย่อ ทปษ.คผถ.ฯ ณ นครนิวยอร์ก

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
37
Q

พ.ข.ต.คือ

A

“เงินเพิ่มพิเศษสำหรับข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหน้าที่ประจำอยู่ในต่างประเทศ” สำหรับหลักเกณฑ์การจ่าย โดยสรุป คือ 1) จ่ายตั้งแต่วันที่เข้ารับหน้าที่จนถึงวันที่พ้นจากหน้าที่ 2) กรณีลาโดยได้รับอนุญาตจากผู้บังคับบัญชาให้จ่าย พ.ข.ต. ได้ตลอดระยะเวลาดังกล่าว 3) ห้ามไม่ให้จ่ายสำหรับระยะเวลาที่ขาดราชการ 4) กรณีมีคู่สมรสและบุตรติดตามไปด้วย ให้ได้รับ พ.ข.ต. เพิ่มขึ้นสำหรับคู่สมรสอีก 30% ของ พ.ข.ต. และได้รับเพิ่มขึ้นสำหรับบุตร 5% ของ พ.ข.ต. ต่อบุตร 1 คน (บุตรไม่เกิน 4 คน)

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
38
Q

ผบ.ทสส.บรูไน

A

พล.ต.ฮาจิ อามินุดดิน อิห์ซาน Major Major General Dato Paduka Seri Haji Aminuddin Ihsan bin Pehin Orang Kaya Saiful Mulok Dato Seri Paduka Haji Abidin สั้น: Major General Dato Paduka Seri Haji Aminuddin Ihsan

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
39
Q

ผบ.ทบ.บรูไน

A

พล.จ.ฮาจิ ยุสซอฟ บิน ฮาจิ อับดุล ราห์มาน Brigadier General Dato Seri Pahlawan Haji Yussof bin Haji Abd Rahman สั้น: Brigadier General Dato Seri Pahlawan Haji Yussof

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
40
Q

ผบ.ทร.บรูไน

A

First Admiral Dato Seri Pahlawan Haji Abdul Halim bin Haji Mohd Hanifah สั้น: First Admiral Dato Seri Pahlawan Haji Abdul Halim

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
41
Q

ผบ.ทอ.บรูไน

A

Brigadier General (U) Haji Wardi bin Haji Abd Latip สั้น: Brigadier General (U) Haji Wardi

42
Q

การจัด RBAF ประกอบด้วย

A

RBLF / RBNV / RBAirF / Training Institute / Directorate of Operation, Intelligence, Personnel, Logistics, Force Capability Development / Inspectorate Unit / RBAF Joint Force HQ / Office of Strategy Management / RBAF Religious Department / Commander RBAF

43
Q

ใคร รรก. ผชท.ทหาร ไทย/บันดาร์เสรีเบกาวัน

A

ผชท.ทหาร ไทย/กัวลาลัมเปอร์

44
Q

ชื่อทางการของบรูไน

A

เนการาบรูไนดารุสซาลาม (Negara Brunei Darussalam แปลว่า ดินแดนแห่งความสงบสุข)

45
Q

ภาษาที่ใช้ในบรูไน

A

ภาษามาเลย์ (Bahasa Melayu) เป็นภาษาราชการ ภาษาอังกฤษและภาษาจีนเป็นภาษาที่ใช้สื่อสารแพร่หลาย

46
Q

ที่ตั้งของบรูไน

A

ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะบอร์เนียว ทิศตะวันออก ตะวันตกและทิศใต้ติดเขตซาราวัก ประเทศมาเลเซีย

47
Q

ศาสนาประจำชาติบรูไน

A

ศาสนาประจำชาติ คือ ศาสนาอิสลาม (67%) ศาสนาอื่น ๆ ได้แก่ ศาสนาพุทธ (13%) ศาสนาคริสต์ (10%) และฮินดู

48
Q

พรมแดนทางบกของบรูไน

A

ถูกโอบล้อมโดยมาเลเซีย และมีอินโดนีเซียซึ่งเป็นประเทศมุสลิมขนาดใหญ่อยู่ทางใต้ ส่วนทางทะเลด้านทิศเหนือติดทะเลจีนใต้

49
Q

บรูไนเป็นสมาชิกอาเซียนลำดับเท่าไร

A

ลำดับ 6

พ.ศ.2510 ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร์

พ.ศ.2527 บรูไน ดารุสซาลาม

พ.ศ. 2538 เวียดนาม

พ.ศ.2540 พม่าและลาว

พ.ศ. 2542 กัมพูชา

50
Q

สำหรับงานแต่งกาย Black Tie ทหารหากไม่ระบุไว้ให้ใส่ชุด

A

เครื่องแบบครึ่งยศ หรือ Mess Kit

51
Q

Smart Casual หมายถึง

A

Jacket and Tie หรือ Coat and Tie

52
Q

งานตามแบบพิธีสำคัญชายควรใช้รองเท้าอย่างไร

A

หุ้มส้นสีดำแบบผูกเชือก

53
Q

การแนะนำตัวถือหลักอย่างไร

A

แนะนำผู้อ่อนวัยต่อผู้อาวุโส แนะนำบุรุษต่อสตรี เว้นประมุขประเทศ พระบรมวงศานุวงศ์ พระภิกษุหรือนักบวชอาวุโส

54
Q

สุภาพบุรุษต้องยืนเสมอเมื่อสุภาพสตรีเดินเข้ามาในห้องอย่างไร

A

ห้องโถงอาคารบ้านพัก ไม่รวมที่อื่น เช่น ภัตตาคาร ห้องพักรอผู้โดยสารขาออก

55
Q

เมื่อสวมถุงมือและหมวก เมื่อเจอสุภาพสตรีจะต้องทำอย่างไร

A

ถอดถุงมือขวา มือซ้ายสวมถุงมือถือหมวก ไม้เท้า บุหรี่ หรือกล้องยาเส้น

56
Q

ประโยชน์่ของนามบัตร

A
  • ส่งไปกับดอกไม้หรือของขวัญ (สอดไว้ในห่อของขวัญ)
  • ใช้แทนบัตรเชิญสำหรับการเชิญอย่างไม่เป็นทางการ
  • ใช้ตอบรับ/ปฏิเสธการเชิญ
  • ใช้ในการเตือนการนัดหรือการเชิญ
  • ใช้สำหรับส่งข้อความแสดงความยินดี อวยพร แสดงความเสียใจ
  • ส่งประกอบไปกับหนังสือแนะนำบุคคลให้ผู้รับรู้จัก
  • วางนามบัตรในโอกาสต่างๆ
57
Q

การเขียนคำย่อส่วนล่างของด้านหน้าขวานามบัตร

A

p.f. (pour feliciter) ยินดี วันชาติ วันพิเศษ

p. p (pour presenter) แนะนำบุคคลให้รับนามบัตรของผู้ที่รู้จัก
p. c. (pour condoler) แสดงความเสียใจ ปลอบขวัญ
p. r. (pour remercier) ขอบคุณ (อาจใช้ตอบ p.f / p.c.)
p. p.c. (pour prendre conge) เพื่อกล่าวอำลา
p. f.n.a. (pour fete du nouvel an) เพื่ออวยพรในโอกาสปีใหม่
p. m. (pour memoire) เพื่อเตือนความจำ
n. b. (nota bene) เพื่อให้สนใจในข้อความที่เขียนบนนามบัตร

58
Q

แขกจะเข้านั่งโต๊ะอาหารก็ต่อเมื่อ

A

เจ้าภาพหญิงและแขกผู้มีเกียรตินั่ง หรือเจ้าภาพชายเชิญนั่ง

59
Q

เมื่อทานซุปเสร็จแล้ว เอาช้อนซุปวางอย่างไร

A

วางที่ขอบจานรองชามซุป

60
Q

โดยหลักการแล้วมีดและส้อมที่เป็นเครื่องเงินจำนวนเท่าไร

A

มีดไม่เกิน 3 เล่ม ส้อมไม่เกิน 3 คัน

61
Q

ซุปใดเสริฟ์ในถ้วยมีหูสองข้าง จับหูทั้งสองยกรับประทานได้

A

ซุปใส (Consomme)

62
Q

ข้อควรปฏิบัติเมื่อนั่งโต๊ะอาหาร

A
  • ไม่จับต้องเครื่องเงินหรือพลิกชามดูยี่ห้อ
  • ดูแลคนขวาเป็นหลัก
  • ของส่วนกลางให้ขอส่งผ่านไม่เอื้อม เมื่อใช้เสร็จแล้วส่งเวียนขวา
  • อย่าปรุงก่อนชิม
  • อย่านำเครื่องปรุงส่วนตัวไปใช้
  • ไม่ควรเหลืออาหารในชาม
  • แจ้งของแพ้ตั้งแต่ตอนเชิญ หรือตักของแพ้เพียงเล็กน้อย
  • การปฏิเสธไวน์ไม่ผิดมารยาท
  • หากสุภาพสตรีขวามือลุกให้เลื่อนเก้าอี้
  • หากไปทำธุระขอเจ้าภาพแล้ววางช้อนทำมุม 100 องศา คว่ำส้อม หันคมมีดไปทางซ้าย
  • ไม่ควรคุยเสียงดัง
  • อย่างส่งต่ออาหารเป็นหน้าที่บริกร
  • ซับปากก่อนดื่มน้ำ
  • อย่าแบ่งอาหารของตนให้คนอื่น
  • ไม่ควรใช้ไม้จิ้มฟันบนโต๊ะอาหาร
  • ไม่เรียกเครื่องดื่มมารินอีกเมื่อผ่านชุดนั้นไปแล้ว
  • ไม่ดื่มน้ำชามล้างมือ
  • ไม่พูดในขณะอาหารเต็มปาก
  • ไม่ทำเสียงเคี้ยวหรือกลืนดัง
  • ไม่กินคำใหญ่เกินไป
  • ไม่เรอเสียงดัง
63
Q

หากเราเป็นแขกเกียรติยศแล้วผู้กล่าว Toast มีอาวุโสเท่ากับเราแล้ว

A

นั่งอยู่กับโต๊ะ ไม่ร่วมดื่ม เมื่อเสร็จแล้วอาจยืนและกล่าวขอบคุณพร้อม Toast ตอบแทนได้

64
Q

การทานขนมปังกับเนยทานอย่างไร

A

ทานเป็นคำ ฉีกขนมปังเป็นชิ้นพอดีคำก่อนและจึงทาเนยก่อนรับประทาน

65
Q

Regrets only เขียนไว้ตรงไหน

A

มุมล่างของบัตรเชิญ

66
Q

การจัดที่นั่งทานอาหารในเรื่องเพศมีหลักอย่างไร

A

สลับเพศเสมอ อย่าให้สามีภรรยานั่งติดกันหรือประจันหน้ากัน คู่มั่นควรนั่งติดกันเสมอ

67
Q

การจัดโต๊ะรูปตัว I ไม่นิยมจัดสตรีนั่งปลายสุดโต๊ะโดยไม่มีบุรุษนั่งปิดหัวท้าย จะแก้ปัญหาได้ด้วย

A

การนัดสตรีนั่งติดกันกลางโต๊ะ

68
Q

การจัดนั่งโต๊ะจีน แขกเกียรติยศ และเจ้าภาพนั่งอย่างไร

A

แขกเกียรติยศนั่งหันหน้าไปประตูทางเข้าห้องอาหาร เจ้าภาพนั่งหันหลัง

69
Q

การนั่งของเจ้าภาพ

A

เชิญชวนให้แขกลงนั่ง และเมื่อแขกนั่งทุกคนแล้วเจ้าภาพค่อยนั่ง

70
Q

สุภาพสตรีจะเข้านั่งโต๊ะอาหารโดยมีใครเป็นคนเชิญ

A

สุภาพบุรุษที่นั่งซ้ายมือของตน

71
Q

การ Decant คืออะไร มีวัตถุประสงค์อย่างไร

A

คือการถ่ายไวน์จากขวดเดิมและกรองลงในขวดแก้วพิเศษสำหรับเสริฟ์ ในกรณีที่ไว้เก่ามีตะกอนมาก หรือมีเศษจุกก๊อกปนอยู่ หากเป็นไวน์ใหม่ จะทำให้ไวน์ทำปฏิกริยากับอากาศ มีรสชาติดีขึ้น ต้องขออนุญาตผู้สั่งเปิดไวน์ก่อนเสมอ

72
Q

Port Wine (Vinho do Porto หรือ Porto) หมายถึง

A

ไวน์แดงชนิดหวาน ทำจากองุ่นที่ปลูกจาก Douro Valley และผลิตหรือส่งออกจากเมือง Porto โปรตุเกส วิธีการผลิตคือ นำบรั่นดีผสมกับไวน์แดงที่อยู่ระหว่าง Fermentation ทำให้เข้มข้นขึ้น หวานขึ้น มีแอลกอฮอล์สูงขี้น

73
Q

หัวไชโป้ เรียกภาษาอังกฤษว่าอย่างไร

A

Preserved radish

74
Q

จดหมายเชิญ มีความแตกต่างจากจดหมายอื่นอย่างไร

A
  1. ไม่ใช้ “;” หรือ “,” หลังประโยคว่า Dear…………
  2. คงถ้อยคำไว้ในแบบการเขียนบัตรเชิญ แต่ให้สั้นสุด
  3. ไม่ใช้เครื่องหมาย “,” หลังคำ Sincerely
75
Q

บัตรเชิญที่ประมุขของประเทศเป็นเจ้าภาพ ควรปฏิบัติอย่างไร

A

จะต้องตอบรับในทันที ปฏิเสธได้ในกรณีที่ ไม่อยู่ในประเทศ ป่วยหนัก หรือเกิดการสูญเสียของบุคคลในครอบครัว เท่านั้น

76
Q

การไปราชการนิยมใส่สูทสีใด

A

สีเข้ม เช่น สีดำ น้ำเงินเข้ม เทาเข้ม และกรมท่าเข้ม

77
Q

R.S.V.P. Repondez s’il vous plait แปลว่า

A

โปรดตอบ จะต้องตอบให้ผู้เชิญทราบภายใน 24 ชม.

78
Q

สีประจำองค์สุลต่านบรูไนคือ

A

เหลืองหรือทอง

79
Q

At Home ในบัตรเชิญหมายถึง

A
  1. บ่าวสาวแจ้งที่อยู่บ้านใหม่ ระบุวันที่ที่มีผลใช้
  2. “ยินดีต้อนรับ” ระบุวันเวลา
80
Q

ประเทศที่ไม่มีสายการบินไทยผ่านจะไปออกบัตรโดยสารที่ใด

A

ฝ่ายบัตรโดยสารภาคราชการ การบินไทย

81
Q

ข้าราชการ บก.ทท. เว้น ผบ.ทสส. มีใครเป็นผู้อนุมัติเดินทาง

A

ผบ.ทสส.

82
Q

หน่วยงานใดเป็นผู้กำหนดหลักเกณฑ์ค่าใช้จ่ายในการเดินทางของ ผบช.

A

กระทรวงการคลัง

83
Q

สมเด็จพระสันตะปาปาองค์ใหม่แห่งคริสตจักรโรมันคาทอลิก รับเลือกเมื่อต้นมีนาคม 56 พระนาม โป๊ปฟรานซิสที่ 1 เป็นพระคาดินัลจากประเทศใด

A

สาธารณรัฐอาร์เจนตินา

84
Q

วิกฤตเศรษฐกิจ อเมริกา ยุโรป เริ่มขึ้นในปี

A

2551

85
Q

BRIC คือ

A

หมายถึง 4 ประเทศชั้นนำในตลาดเกิดใหม่ ซึ่งประกอบด้วย บราซิล (Brazil) รัสเซีย (Russia) อินเดีย (India) และจีน (China) ถือเป็นประเทศกำลังพัฒนาที่มีอัตราขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วในช่วง ก่อนเกิดวิกฤตเศรษฐกิจโลกครั้งนี้ ในปี 2551 ที่ผ่านมา BRIC มีส่วนในการขยายตัวทางเศรษฐกิจโลกสูงถึง 59% และจากการคำนวณโดยอาศัยข้อมูลจาก IMF พบว่า ในปี 2552 BRIC จะมีสัดส่วนใน GDP โลกประมาณ 15.4% ซึ่งเป็นการสะท้อนให้เห็นว่าบทบาทของ BRIC จะมีความสำคัญมากขึ้นต่อเศรษฐกิจโลก

86
Q

ประเทศในยุโรปตะวันออกที่สหรัฐฯ นำระบบป้องกันขีปนาวุธไปติดตั้งคือ

A

โรมาเนียกับสาธารณรัฐโปแลนด์

87
Q

อาหรับสปริงคือ

A

The Arab Spring (ในภาษอาราบิคเขียนว่า Arabic: الثورات العربية‎; ซึ่งมีความหมายเทียบได้ว่า คือ “การกบถของอาหรับ” หรือ “ปฏิวัติอาหรับ” (the Arabic Rebellions or the Arab Revolutions) ซึ่งทั้งหมดมีจุดเริ่มต้นเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม ค.ศ. 2010

  • ในประเทศตูนิเซีย (Tunisia) นับเป็นประเทศแรกที่ได้รับผลกระทบจาก Arab Spring ประธานาธิบดี Ben Ali ถูกขับลงจากอำนาจ รัฐบาลที่หนุนหลังถูกโค่นล้ม และเป็นการจุดชนวนการเปลี่ยนแปลง เป็นแรงดลใจแก่นักเคลื่อนไหวในโลกอาหรับอื่นๆ
  • ในประเทศอียิปต์ (Egypt) ประะธานาธิบดี Hosni Mubarak ถูกโค่นให้ออกจากตำแหน่ง และรัฐบาลถูกโค่นล้ม โดยมีกองทัพบกทำหน้าที่ผู้รักษาอำนาจในช่วงการเปลี่ยนผ่านสู่รัฐบาลใหม่ที่จะมาจากการเลือกตั้ง
  • ประเทศเยเมน (Yemen) ประธานาธิบดี Ali Abdullah Saleh บาดเจ็บสาหัสจากการลอบสังหารและต้องไปพักรักษาตัวในประเทศซาอุดิอาเรเบีย และต้องส่งมอบอำนาจให้กับรองประธานาธิบดีทำการแทน
  • ประเทศลิเบีย (Libya) ได้เปลี่ยนสภาพความขัดแย้งไปสู่ระดับสงครามกลางเมือง ทำให้ต้องมีการแทรกแซงจากต่างชาติในรูปของการบังคับใช้เขตห้ามบิน (No-Fly Zone - NFZ) และการระดมทิ้งระเบิดที่มั่นของฝ่ายกองกำลังของกัดดาฟี (Gaddafi)
  • ในประเทศซีเรีย (Syria) และ บาห์เรน (Bahrain) เกิดการลุกฮือขึ้นโดยประชาชนต่อต้านรัฐบาล แม้รัฐบาลได้สัญญาว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงไปสู่ความเป็นประชาธิปไตย
  • ในประเทศจอร์แดน (Jordan) คูเวต (Kuwait) และโอมาน (Oman) ได้มีการปรับเปลี่ยนรัฐบาลเพื่อตอบสนองต่อฝ่ายต่อต้าน
  • ในประเทศมอรอคโค (Morocco) จุดกำเนิดเริ่มต้นเมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 2011 มีการประท้วงเกิดขึ้น มีการทำลายทรัพย์สิน กษัตริย์โมฮัมเหม็ดที่ 6 (King Mohammed VI) ได้ทรงใช้อำนาจทางการเมืองเข้าดำเนินการ ได้เสนอให้มีการทำประชามติ (Referendum) เพื่อการปฏิรูปรัฐธรรมนูญ เพื่อให้ตั้งอยู่บนพื้นฐานของการเคารพสิทธิมนุษยชน และการยุติการฉ้อราษฎรบังหลวง
  • ขณะเดียวกันก็ยังมีการลุกฮือขึ้นในประเทศอย่างอัลจีเรีย (Algeria) อิรัค (Iraq) และประเทศอื่นๆ
88
Q

สหรัฐและนาโต้ วางแผนถอนกำลังในอาฟกานิสถานในปีใด

A

2557

89
Q

Quartet คือ

A

สหภาพยุโรป ร่วมกับองค์การสหประชาชาติ สหรัฐอเมริกาและรัสเซีย เป็นสมาชิกของกลุ่มสี่ฝ่าย (Quartet) ที่พยายามผลักดันสันติภาพในตะวันออกกลาง การแก้ปัญหาความขัดแย้งปาเลสไตน์-อิสราเอล

90
Q

การลด งป. ของสหรัฐฯ กระทบต่อการลดจำนวน ร.บรรทุกเครื่องบินที่ใด

A

อ่าวเปอร์เซีย / ตะวันออกกลาง

91
Q

ปัญหากระทบความสัมพันธ์จีน-สหรัฐฯ ในขณะนี้

A

ปัญหาไต้หวัน

92
Q

ประเด็นสำคัญที่นาย สี จิ้นผิง ให้ความสำคัญอันดับแรกคือ

A

นโยบายต่อต้านการคอรัปชั่น

93
Q

คิมจองอัน ผู้นำเกาหลีเหนือยังไม่ได้ดำเนินการในเรื่องใดนับตั้งแต่เป็นผู้นำ

A

การเจรจา 6 ฝ่าย

94
Q

Mekong Lower Initiative มีประเทศใดบ้างร่วม

A

U.S.-Lower Mekong Initiative เป็นการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศของประเทศลุ่มแม่น้ำโขงตอนล่างได้แก่ ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนามและพม่า กับรัฐมนตรีต่างประเทศของสหรัฐฯเป็นประจำทุกปี สาขาความร่วมมือเน้น ด้านพลังงาน สาธารณสุข ความมั่นคงทางอาหาร การเกษตร การศึกษา และสิ่งแวดล้อม ในการประชุมครั้งล่าสุด สหรัฐฯได้ประกาศวงเงิน 50 ล้านเหรียญ สำหรับโครงการต่างๆภายใต้กรอบความร่วมมือดังกล่าวในช่วง 3 ปีข้างหน้า

95
Q

วันกำเนิด ASEAN

A

8 สิงหาคม 2510

96
Q

การประชุมผู้นำอาเซียน (ASEAN Summit) ผู้นำอาเซียนได้ลงนามในปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน (Declaration of ASEAN Concord II) ที่ใด เมื่อใด มีสาระสำคัญอย่างไร

A

การประชุมผู้นำอาเซียน (ASEAN Summit) ครั้งที่ 9 ในเดือนตุลาคม 2546 ที่บาหลี ผู้นำอาเซียนได้ลงนามในปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน (Declaration of ASEAN Concord II หรือ Bali Concord II) เพื่อให้เกิดประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ภายในปี พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) โดยจะประกอบด้วย 3 เสาหลัก (pillars)

97
Q

3 เสาหลักของประชาคมอาเซียนคือ

A
  1. ประชาคมความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Security Community–ASC)
  2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community-AEC)
  3. ประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community-ASCC)
98
Q

เลขาธิการอาเซียนปัจจุบันคือ

A

เล ลุง มินห์ ชาวเวียดนาม ปี 56-60

99
Q

การให้คำปฏิญาณตนของวงภาคีความร่วมมือ ADMM-Plus นี้ เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2553 โดยเห็นพ้องที่จะให้ความร่วมมือเชิงปฏิบัติการใน 5 ประเด็น ดังนี้

A
  1. ความมั่นคงในน่านน้ำ (maritime security)
  2. การต่อต้านการก่อการร้าย (counter-terrorism)
  3. การจัดการภัยพิบัติ (disaster management)
  4. การปฏิบัติการเพื่อรักษาสันติภาพ (peacekeeping operations)
  5. การแพทย์ทหาร (military medicine)
100
Q

ประเทศผู้ร่วมก่อตั้งอาเซียน 5 ประเทศ คือ

A

อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย

101
Q

ชื่อเป็นทางการของสมาชิกอาเซียน

A
  1. เนการาบรูไนดารุสซาลาม
  2. ราชอาณาจักรกัมพูชา
  3. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย
  4. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
  5. สหพันธรัฐมาเลเซีย
  6. สาธารณรัฐฟิลิปปินส์
  7. สาธารณรัฐสิงคโปร์
  8. ราชอาณาจักรไทย
  9. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
  10. สหภาพพม่า
102
Q
A