การข่าวทหาร Flashcards

1
Q

วิสัยทัศน์ ขว.ทหาร

A

เป็นศูนย์กลางประชาคมข่าวกรองในการปฏิบัติการร่วม เพื่อบรรลุภารกิจของ กองทัพไทย (J2 is the Core of the Intelligence Community to accomplish Joint Operations of the Royal Thai Armed Forces)

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
2
Q

พันธกิจ ขว.ทหาร

A

๑. พิจารณาเสนอความเห็นเกี่ยวกับนโยบายการข่าวกรอง และวางแผนการข่าวกรองทางทหาร เพื่อ รักษาความมั่นคงแห่งชาติ นโยบายการต่อต้านการข่าวกรอง และประสานการวางแผนการต่อต้านข่าวกรอง ตลอดจนอำนวยการและดำเนินการให้เป็นไปตามแผน ๒. กำกับดูแลงานด้านข่าวกรองของหน่วยต่าง ๆ ในกองทัพไทย และติดต่อกับส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ๓. รวบรวม ผลิต และกระจายข่าวกรองให้กับหน่วยต่าง ๆ ของกองทัพไทย ๔. พิจารณาบรรจุเจ้าหน้าที่ข่าวกรอง ประสาน และกำหนดแผนการเข้ารับการศึกษาวิทยาการข่าวกรอง ๕. ศึกษา พิจารณา และพัฒนาการจัดหน่วยข่าวกรอง หลักนิยมด้านการข่าวกรองร่วม บริการ ข่าวกรองทางทหาร งานข่าวกรองเทคนิคและเทคโนโลยีสารสนเทศทหาร ๖. ควบคุมนโยบายการทูตฝ่ายทหาร เสนอแต่งตั้งและกำกับดูแลผู้ช่วยทูตฝ่ายทหาร ๗. ดำเนินงานพิธีการทูตและกิจกรรมการทูตฝ่ายทหารต่างประเทศตลอดจนพิธีการรับรองอย่างเป็นทางการ ๘. อำนวยการรักษาความปลอดภัยในกองบัญชาการกองทัพไทย

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
15
Q

คณะผู้บัญชาการทหาร ตาม พรบ.จัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม พ.ศ.๒๕๕๑ มาตรา ๔๗ ประกอบด้วย

A

ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ผู้บัญชาการทหารบก ผู้บัญชาการทหารเรือ ผู้บัญชาการทหารอากาศ และเสนาธิการทหาร โดยมีผู้บัญชาการทหารสูงสุดเป็นประธานคณะผู้บัญชาการทหาร มีหน้าที่ให้คำเสนอแนะและให้คำปรึกษาต่อ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมในเรื่อง การเตรียมกำลัง การสั่งการใช้กำลัง การเคลื่อนกำลังทหาร และการเตรียมพร้อม ตลอดจนรับผิดชอบในการควบคุมอำนวยการยุทธ์ในภาพรวม รวมทั้งควบคุมบังคับบัญชากองกำลังเฉพาะกิจร่วมที่จัดตั้งขึ้นในกรณีที่มีสถานการณ์ที่กระทบต่อความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงของประเทศ

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
16
Q

ศบท.บก.ทท. จัดตั้งตาม พรบ.การจัดส่วนราชการ กห. ๕๑ มาตรา ๓๙ มี นขต.อะไรบ้าง

A

ฝ่ายเสนาธิการร่วม
ฝ่ายกิจการพิเศษ

———- จัดตั้งเมื่อสั่ง

ชุดวางแผนร่วม และ
หน่วยงาน/องค์กรอื่น ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
17
Q

ฝ่ายเสนาธิการร่วม ศบท.บก.ทท. ประกอบด้วย

A

ฝกพ.ฯ / ฝขว.ฯ / ฝยก.ฯ / ฝกบ.ฯ / ฝกร.ฯ / ฝสส.ฯ / ฝปช.ฯ

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
18
Q

ฝ่ายกิจการพิเศษ ศบท.บก.ทท. ประกอบด้วย

A

ฝสบ.ฯ / ฝกง.ฯ / ฝสน.ฯ / ฝชด.ฯ / ศตก.ฯ / ฝผท.ฯ / ศทช.ฯ / ศปร.ฯ

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
19
Q

ชุดวางแผนร่วม ศบท.บก.ทท. ประกอบด้วย

A

ทบ.
ทร.
ทอ.
ตชด.

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
20
Q

ปัญหาการข่าวด้านการบริหารจัดการ

A

ขาดการบริหารจัดการในภาพรวม (บูรณาการ)

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
22
Q

ภารกิจของ ขว.ทหาร

A

มีหน้าที่พิจารณาเสนอความเห็นเกี่ยวกับนโยบาย วางแผน อำนวยการ ประสานงาน กำกับดูแลและดำเนินการในด้านการข่าวกรอง การต่อต้านข่าวกรอง และการรักษาความปลอดภัยภายในกองบัญชาการกองทัพไทย รวมทั้งดำเนินการวิเทศสัมพันธ์ของกองทัพไทย มีเจ้ากรมข่าวทหารเป็นผู้บังคับบัญชวรับผิดชอบ

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
23
Q

การจัดของ ขว.ทหาร

A

๓ กอง กลาง นโยบายและแผน ภาษาต่างประเทศ ๒ สำนัก ข่าวกรอง วิเทศสัมพันธ์ ๒ สำนักงาน สน.ผชท.ทหาร สน.ทปษ.คผถ.ฯ

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
24
Q

หน้าที่กองทัพไทย ตาม พรบ.จัดระเบียบราชการ กห. ๕๑

A

กองบัญชาการกองทัพไทย มีหน้าที่ ควบคุม อำนวยการ สั่งการ และกำกับดูแลการดำเนินงานของส่วนราชการในกองทัพไทยในการเตรียมกำลัง การป้องกันราชอาณาจักรและการดำเนินการเกี่ยวกับการใช้กำลังทหารตามอำนาจหน้าที่ของกระทรวงกลาโหมให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด มีผู้บัญชาการทหารสูงสุดเป็นผู้บังคับบัญชารับผิดชอบ

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
25
Q

งานสำคัญของการปฏิบัติการด้านการข่าวกรองร่วม

A

ข่าวกรอง วิเทศสัมพันธ์ ต่อต้านข่าวกรอง

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
26
Q

กลุ่มงานด้านข่าวกรอง

A

-รวบรวม ผลิตข่าวกรอง -ดำเนินกรรมวิธีต่อข่าวสารให้เป็นข่าวกรอง -กระจายข่าวกรองไปยังหน่วยและผู้ใช้

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
27
Q

กลุ่มงานด้านต่อต้านข่ากรอง

A

-ทำลายประสิทธิภาพการหาข่าวของฝ่ายตรงข้าม -การป้องกัน ข่าวสาร บุคคล สถานที่ การสื่อสาร -หาข่าวสารที่ได้จากการต่อต้านข่าวกรอง

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
28
Q

กลุ่มงานด้านวิเทศสัมพันธ์

A

-กองทัพได้รับชัยชนะโดยไม่ต้องรบ -สร้างความสัมพันธ์ด้านความมั่นคงกับต่างประเทศ -ประสานการช่วยเหลือทางทหาร -รวบรวมข่าวสารที่มีผลต่อแผนและยุทธศาสตร์ผ่านกิจกรรมการวิเทศสัมพันธ์

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
29
Q

โครงสร้างใหม่ ขว.ทหาร

A

ปรับโอนสถาบันภาษาไป สปท.
มีกองโครงการและงบประมาณ เป็น นขต.ขว.ทหาร
สนข.ขว.ทหาร มี นขต. จำนวน ๔ หน่วย ได้แก่ ก่องข่าวยุทธศาสตร์ (กองข่าวเดิม) กองข่าวความมั่นคง กองต่อต้านข่าวกรอง (กองรักษาความปลอดภัยเดิม) กองข่าวเทคนิคและเทคโนโลยีข่าวกรอง (กองวิจัยและพัฒนาข่าวกรองเดิม)

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
30
Q

นขต.กนผ.สนข.ขว.ทหาร

A

แผนกนโยบายและแผน
แผนกแผนงานระหว่างประเทศ
แผนกการฝึกและหลักนิยม
แผนกปฏิบัติการและสนับสนุน

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
31
Q

นขต.กกล.ขว.ทหาร

A

แผนกสารบรรณ
แผนกธุรการและกำลังพล
แผนกส่งกำลังและบริการ

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
32
Q

นขต.กขย.สนข.ขว.ทหาร

A

แผนกแผนงานข่าวกรอง
แผนกเอเซีย-แปซิกฟิก
แผนกเอเชียใต้-เอเชียกลาง-ตะวันออกกลาง
แผนกยุโรป-อเมริกา-แอฟริกา
แผนกประมาณการข่าวกรอง

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
33
Q

นขต.กตข.สนข.ขว.ทหาร

A

แผนกแผนงานต่อต้านข่าวกรอง
แผนกรักษาความปลอดภัย
แผนกต่อต้านข่าวกรอง

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
34
Q

นขต.กทท.สขว.ขว.ทหาร

A

แผนกวิจัยและพัฒนาการข่าวกรอง
แผนกเทคโนโลยีข่าวกรอง
แผนกข่าวกรองเทคนิค

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
35
Q

นขต.กขม.สขว.ขว.ทหาร

A

แผนกแผนงานข่าวกรอง
แผนกรวบรวมข่าวสาร
แผนกข่าวความมั่นคงพื้นที่ภายใน
แผนกข่าวความมั่นคงพื้นที่ชายแดน
แผนกข่าวก่อการร้ายและอาชญากรรมข้ามชาติ

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
36
Q

นขต.กวส.สวส.ขว.ทหาร

A

แผนกวิเทศสัมพันธ์
แผนกประสานการช่วยเหลือทางทหาร

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
37
Q

นขต.กทท.สวส.ขว.ทหาร

A

แผนกผู้ช่วยทูตฝ่ายทหารไทย
แผนกผู้ช่วยทูตฝ่ายทหารต่างประเทศ

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
38
Q

นขต.กพท.สวส.ขว.ทหาร

A

แผนกพิธีการ
แผนกรับรอง

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
39
Q

นขต.กภต.ขว.ทหาร

A

แผนกภาษาต่างประเทศ
แผนกแปล
แผนกล่าม

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
40
Q

สน.ผชท.ทหาร ไทย/ต่างประเทศ ที่อยู่ภายใต้การดูแลของ ขว.ทหาร

A

ณ กรุงเวียงจันทร์ (กำลังเปลี่ยนเป็นบันดาร์เสรีเบกาวัน)
ณ กรุงฮานอย
ณ กรุงบราซิเลีย
ณ กรุงพริทอเรีย

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
41
Q

สน.ทปษ.ฯ ที่อยู่ในความดูแลของ ขว.ทหาร

A

สำนักงานที่ปรึกษาทางทหาร ประจำคณะผู้แทนถาวรไทยประจำสหประชาชาติ ณ นครนิวยอร์ค (สน.ทปษ.คผถ. ณ นครนิวยอร์ค)

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
42
Q

นขต.กคง.ขว.ทหาร

A

แผนกแผนงานและโครงการ
แผนกงบประมาณ
แผนกประเมิณผล

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
48
Q

ภารกิจ ฝขว.ศบท.บก.ทท.

A

วางแผน อำนวยการ ประสานงาน กำกับดูแลการปฏิบัติด้านการข่าว ในการป้องกันประเทศ การรักษาความมั่นคงชายแดน การรักษาความมั่นคงภายใน และการรักษความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ โดยมี หัวหน้าฝ่ายการข่าว เป็นผู้บังคับบัญชา

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
49
Q

อัตรากำลังพล ฝขว.ศบท.บก.ทท.

A

จำนวนทั้งสิ้น ๔๒๐ อัตรา บรรจุจริง ๒๘๘ นาย

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
50
Q

นขต.ฝขว.ศบท.บก.ทท.

A

ส่วนบังคับบัญชา
ส่วนอำนวยการ
ส่วนรักษาความปลอดภัย
ชุดติดตามสถานการณ์

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
51
Q

นขต.ฝขว.ศบท.บก.ทท. (โครงสร้างใหม่)

A

ส่วนบังคับบัญชา
ส่วนอำนวยการ
ส่วนปฏิบัติการข่าว
ส่วนต่อต้านข่าวกรอง

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
52
Q

ข่าวจากชุดติดตามสถานการณ์ ผลิตวันละกี่ครั้งเวลาใดบ้าง เพื่อใคร

A

รายงาน ผบ.ทสส. วันละ ๒ ครั้ง เวลา ๐๖๐๐ และ ๑๕๐๐

53
Q

ปัญหางานข่าวกรองของ กองทัพไทยในอดีต

A

ยุคสงครามเย็น
-งานข่าวกรองไม่ได้รับการพัฒนาอย่างจริงจัง เนื่องจาก ได้รับความช่วยเหลือด้านข่าวกรองจากสหรัฐฯ

หลังยุคสงครามเย็น
-ภัยคุกคามร่วมกับสหรัฐฯลดลง สหรัฐฯ สนับสนุนด้านข่าวกรองอย่างจำกัดเฉพาะด้าน

54
Q

ปัญหาการข่าวด้านกำลังพล

A

ขาด จนท.เฉพาะทาง ทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ
ต้องเรียนรู้จากการถ่ายทอดประสบการณ์กันเอง
กำลังพลต้องเข้ารับการศึกษาตามแนวทางรับราชการ

55
Q

ปัญหาการข่าวด้านงบประมาณ

A

งป.ด้านการข่าวของกองทัพไทย ต่ำกว่าร้อยละ ๑ ของงบประมาณ กห. (ต่างประเทศ ร้อยละ ๑ - ๓)

56
Q

ปัญหาการข่าวด้านยุโธปกรณ์

A

ขาด การพัฒนาให้เหมาะสม เพียงพอ

58
Q

สรุปปัญหาด้านการข่าว

A

๑. ขาดกลไกในการบูรณาการงานข่าว
๒. เดิมงานข่าวในลักษณะ Stovepipe (สายการบังคับบัญชา)
๓. ขาดกลไก/ระบบกระจายข่าวกรองที่รวดเร็ว/ปลอดภัย
๔. ขาดแผนแม่บทร่วมกันในการพัฒนา
๕. ขาดแผน/ทิศทาง ด้านความสัมพันธ์กับ ตปท.
๖. ขาดการอำนวยการ/บูรณาการการรวบรวม
๗. ทรัพยากรจำกัด/งบประมาณจำกัด
๘. ปัญหากำลังพล(ขีดความสามารถ/การฝึก/ความเป็นมืออาชีพ)
๙. โครงสร้างการจัดและอัตรา ล้าสมัย (สมัยสงครามเกาหลี)
๑๐. ขาดยุทโธปกรณ์ด้านการข่าว

59
Q

แนวทางแก้ไขปัญหาด้านการข่าว

A

๑ การปรับปรุงโครงสร้าง
๒ การปรับปรุงหลักนิยม
๓ การพัฒนาบุคลากร/เครื่องมือ ด้านการข่าว

60
Q

โครงสร้างการปฏิบัติงานด้านการข่าว กระทรวงกลาโหม

A

คำสั่ง กห. ที่ ๑๐๘/๕๓ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการด้านการข่าว กระทรวงกลาโหม

ระดับนโยบายข่าวกรองทางทหาร
- คณะกรรมการนโยบายด้านการข่าว กระทรวงกลาโหม
ระดับอำนวยการข่าวกรองทางทหาร
- คณะกรรมการอำนวยการด้านการข่าว กระทรวงกลาโหม
ระดับปฏิบัติการข่าวกรอง
- ประชาคมข่าวกรอง กระทรวงกลาโหม

61
Q

หลักการและเหตุผลในการจัดตั้งประชาคมข่าวกรอง กห.

A
  • ระบบการปฏิบัติงานข่าวของต่างประเทศปรับเปลี่ยนไปสู่การบูรณาการมากขึ้น
  • ความต้องการของผู้ใช้ข่าวสูงขึ้น
  • ข่าวสารต่าง ๆ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว สลับซับซ้อนมากขึ้น
  • การดำเนินงานข่าวเพียงหน่วยงานเดียวไม่สามารถผลิตผลงานข่าวที่มีคุณภาพ แจ้งเตือนภัยคุกคามล่วงหน้าได้
62
Q

ประชาคมข่าวกรองคืออะไร

A
  • เป็นการเชื่อมโยงหน่วยงานด้านการข่าวในทางระดับ
  • มิใช่สายการบังคับบัญชา (Stovepipes) แต่เป็นสายการประสานงานด้านการข่าว (Horizontal Integration)
  • ขว.ทหาร จัดตั้ง “ศูนย์ประสานงาน ประชาคมข่าวกรองกระทรวงกลาโหม” และจัดระบบเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร/ข่าวกรอง
  • ประชาคมข่าวกรองทหาร ภาค ๑ – ๔ (เสนาธิการ ทภ. ๑ - ๔ เป็นประธานฯ)
63
Q

ระเบียบ กห. ว่าด้วย การปฏิบัติการด้านการข่าวกรองและการต่อต้านข่าวกรอง พ.ศ.๒๕๕๓ แบ่งโครงสร้างการทำงานด้านข่าวกรองและต่อต้านข่าวกรองของ กห. เป็นกี่ระดับ? อะไรบ้าง?

A

แบ่งโครงสร้างการทำงาน ด้านการข่าวกรอง และการต่อต้านข่าวกรองของ กห. เป็น ๓ ระดับ
๑. ระดับนโยบายข่าวกรองทางทหาร
๒. ระดับอำนวยการข่าวกรองทางทหาร
๓. ระดับปฏิบัติการข่าว

64
Q

หน่วยงานทางด้านข่าวกรองทางทหาร ปฏิบัติอย่างไรได้บ้าง

A

๑. ปฏิบัติงานด้านการข่าวสนับสนุนภารกิจของ กห.
๒. รวบรวมข่าวสารได้ทุกรูปแบบทั้งในและต่างประเทศ
๓. ประสานงานด้านการข่าวกับหน่วยข่าวทั้งในและต่างประเทศ
๔. แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ข่าวกรองทางทหาร
๕. ประสานข้อมูลจากกระทรวง ทบวง กรม และส่วนอื่นได้โดยตรง
๖. จัดเจ้าหน้าที่ข่าวกรองทางทหาร ประสานพนักงานสอบสวน ในคดีเกี่ยวกับความมั่นคงฯ
๗. แต่งตั้งผู้ช่วยเหลือเจ้าหน้าที่ข่าวกรองทางทหาร
๘. บก.ทท. จัดทำระบบฐานข้อมูลด้านการข่าวกรองร่วมของ กห.

65
Q

สิทธิของเจ้าหน้าที่ข่าวกรองทางทหาร

A
  • หน่วยงานด้านการข่าวกรองทางทหารต้องให้ความช่วยเหลือดำเนินการด้านคดีจนกระทั่งคดีถึงที่สุด
  • ตำแหน่งเจ้าหน้าที่ข่าวกรองทางทหาร เป็นตำแหน่งที่มีความ เสี่ยงภัยอันตราย ยากลำบากในการปฏิบัติหน้าที่

ขว.ทหาร จะขออนุมัติเงินเพิ่มให้ จนท. โดยนำเข้าพิจารณาใน อกขท.๑

66
Q

การเปิดเผยข่าวสารด้านการข่าวกรองและการต่อต้านข่าวกรอง

A
  • เป็นไปตาม พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสาร พ.ศ.๒๕๔๐
  • หน.หน่วยงานด้านการข่าวกรองทางทหารสามารถมิให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสาร/ข่าวกรองได้ โดยยึดถือกฎหมายว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ
67
Q

การปรับปรุงหลักนิยมด้านข่าวกรอง

A

เดิม บทที่ ๔ พันธกิจการข่าวกรองสำหรับการยุทธ์ร่วม เป็น บทที่ ๔ พันธกิจการข่าวกรองสำหรับการปฏิบัติการร่วม

เดิม บทที่ ๕ การจัด สธร.๒ และศูนย์ข่าวกรองร่วม เป็น บทที่ ๕ การต่อต้านข่าวกรองสำหรับการปฏิบัติการร่วม

68
Q

บทที่ ๔ พันธกิจการข่าวกรองสำหรับการปฏิบัติการร่วม มีสาระสำคัญอะไรบ้าง

A
  • โครงสร้างเครือข่ายข่าวกรองร่วม
  • งานข่าวกรองร่วมในภารกิจป้องกันประเทศ
  • งานข่าวกรองร่วมในภารกิจรักษาความมั่นคงภายใน และการรักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ
  • งานข่าวกรองร่วมในภารกิจอื่น ๆ
69
Q

บทที่ ๕ การต่อต้านข่าวกรองสำหรับการปฏิบัติการร่วม มีสาระสำคัญอย่างไรบ้าง

A
  • กล่าวนำ
  • หลักการต่อต้านข่าวกรอง
  • มาตรการต่อต้านข่าวกรอง (ระเบียบ, คำสั่ง)
  • หน่วยงานด้านการต่อต้านข่าวกรอง
  • การดำเนินการต่อต้านข่าวกรองสำหรับการปฏิบัติการร่วม
70
Q

การปรับปรุงหลักนิยมอื่นๆ ได้แก่

A
  • แผนแม่บทแนวทางการพัฒนาขีดความสามารถด้านการข่าวของกองทัพไทย
  • ร่างนโยบายการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของกองทัพไทย พ.ศ.๒๕๕๓-๒๕๕๗
71
Q

นโยบายการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ของกองทัพไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อ

A

เพื่อให้ กองทัพไทยมีทิศทางให้การดำเนินความสัมพันธ์ทางทหารกับต่างประเทศที่ชัดเจนและเป็นไปในแนวทางเดียวกันทั้งกองทัพไทยตามลักษณะการปฏิบัติการร่วมที่มีประสิทธิภาพ

72
Q

การพัฒนาบุคลากร/เครื่องมือด้านการข่าว ได้แก่อะไรบ้าง

A

-การอบรมหลักสูตรวิเคราะห์และวิจัยข่าวกรอง CDIRAC
เพิ่มทักษะระดับนายทหาร ที่ปฏิบัติงานข่าวในด้านการวิเคราะห์ข่าว สร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือระหว่างกองทัพไทยกับออสเตรเลีย

  • ติดตั้งระบบการติดต่อสื่อสารเข้ารหัสชั้นความลับกับ สน.ผชท.ทหาร ไทย/ต่างประเทศ (CAT Conference)
  • ระบบการประชุมทางไกลออนไลน์ คือ ระบบการประชุมทางไกลออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง สามารถประชุมแบบเห็นภาพฟังเสียงตลอดจนนำเสนอข้อมูลต่อที่ประชุม พร้อม รับ-ส่ง ข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ ได้ในเวลาเดียวกัน ด้วยการใช้ช่องสัญญาณอินเตอร์เน็ตได้อย่างมีประสิทธิภาพ เหมาะสำหรับประชุมทางไกลข้ามจังหวัด หรือข้ามประเทศ
73
Q

หน้าที่ของ สนข.ขว.ทหาร

A

หน้าที่ พิจารณาเสนอความเห็น วางแผน อำนวยการ ประสานงาน กำกับดูแล และดำเนินการเกี่ยวกับ
งานข่าวกรอง
งานต่อต้านข่าวกรอง
งานรักษาความปลอดภัย
งานข่าวกรองเทคนิค และเทคโนโลยีข่าวกรอง

74
Q

งานข่าวกรองเพื่อตอบสนองภารกิจด้านความมั่นคง

A
  • งานข่าวกรองเพื่อการป้องกันประเทศ
  • งานข่าวกรองเพื่อการรักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ
  • งานข่าวกรองเพื่อการรักษาความมั่นคงภายใน
  • งานข่าวกรองเพื่อการต่อต้านการก่อการร้าย
  • งานข่าวกรองเพื่อการป้องกันและปราบปรามการก่อความไม่สงบ
  • งานข่าวกรองเพื่อการสกัดกั้นและปราบปรามยาเสพติด
  • งานข่าวกรองเพื่อการพิทักษ์รักษาผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล
  • งานข่าวกรองเพื่อการบรรเทาสาธารณภัยและช่วยเหลือประชาชน
  • งานข่าวกรองเพื่อการสกัดกั้นแรงงานต่างด้าว/ผู้หลบหนีเข้าเมืองโดยผิดกฎหมาย
75
Q

ผลกระทบของโลกาภิวัฒน์กับงานข่าวกรอง

A
  • เส้นแบ่งเขตของการข่าวกรองภายในประเทศ กับภายนอกประเทศเลือนหายไป
  • การข่าวกรองต้องแข่งขันกับสื่อมวลชนในบริบทของสาธารณะ
76
Q

นิยาม ความหมาย และเส้นแบ่งที่เลือนไป ของงานด้านข่าวกรอง

A
  • การข่าวกรอง กับข้อมูลข่าวสาร
  • นักวิเคราะห์กับเจ้าหน้าที่รวบรวมข่าวสาร
  • ผู้บริโภคกับผู้ผลิต
  • ความเป็นส่วนตัวกับสาธารณะ
  • คู่แข่งกับพันธมิตร
77
Q

การวิเคราะห์ข่าวกรองจะต้อง

A
  • ทำงานร่วมกันในประชาคมข่าวกรอง
  • ทำงานร่วมกับเครือข่ายนักวิชาการ กลุ่มผลประโยชน์ และคลังสมองอื่น ๆ
  • แหล่งข่าวเปิดเป็นสิ่งจำเป็น
  • เสนอข่าวกรองอย่างกลมกลืน ลึก และสอดคล้อง
  • โปร่งใส กระจ่าง อยู่บนพื้นฐานความจริง และปัญญา
78
Q

ความต้องการข่าวกรอง ณ ปัจจุบัน

A
  • เพิ่มปริมาณ และความต้องการ
  • คนรุ่นใหม่ที่คุ้นเคยกับเทคโนโลยี
  • ต้องการข่าวสาร ข่าวกรอง ที่เฉพาะเจาะจงตามประสงค์ของตนมากขึ้น
79
Q

ประชาคมข่าวกรอง (Intelligence Community) มีแนวโน้มเปลี่ยนแปลงไปสู่ วิสาหกิจข่าวกรอง (Intelligence Enterprise)

A
  • มีความชำนาญในการมองไปข้างหน้ามากขึ้น
  • พื้นฐานการทำงานและบริการร่วมกัน
  • ปฏิบัติงานโดยมีศูนย์กลางอยู่ที่ภารกิจ
  • ทำให้ความไหลลื่นของคน ความคิด และกิจกรรม สามารถข้ามขอบเขตของประชาคมออกไป
80
Q

การพัฒนาวิสหกิจข่าวกรองพึ่งพาผู้นำที่เข้มแข็งเพื่อให้

A
  • การบริหารด้านการข่าวกรองแบ่งปันข้ามขอบเขตออกไปทุกด้าน
  • มีการบริการเทคโนโลยีข่าวสาร ทรัพยากรมนุษย์ ความมั่นคงปลอดภัย สิ่งอำนวยความสะดวก วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี การฝึกศึกษา
81
Q

บทบาทหน้าที่ของข่าวกรอง

A
  • ทำให้การตัดสินใจของผู้นำดีขึ้น
  • สร้างความสับสนให้ข้าศึก ฝ่ายตรงข้าม หรือคู่แข่งขัน
  • ทำให้ผู้นำมีความได้เปรียบในการตกลงใจและมีโอกาสสำเร็จมากที่สุด
  • ลดทอนความไม่แน่นอนและความเสี่ยงลงให้เหลือน้อยที่สุด
82
Q

ปัจจัยแห่งความสำเร็จของข่าวกรอง

A
  • ดำเนินงานด้านการข่าวบนพื้นฐานของความจริง ไม่ลำเอียง และตรงประเด็น
  • พร้อมเผชิญกับสิ่งไม่คาดฝันในระดับยุทธศาสตร์
  • ละเอียดมากขึ้น ประเด็นกว้างขวางขึ้น สำหรับผู้บริโภคที่มากขึ้น
  • แยกแยะกลุ่มผู้บริโภค
  • สร้างความสัมพันธ์กับผู้บริโภคในประชาคมให้มากขึ้น
  • ศูนย์กลางอยู่ที่ภารกิจ
83
Q

กระบวนการทำงานข่าวกรองต้อง

A
  • ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่สร้างการบูรณาการ และทำงานร่วมกัน
  • ยึดหลักการแบ่งแยกหน้าที่ พร้อมบูรณาการการทำงานร่วมกัน
  • ปรับการทำงานตามวงรอบข่าวกรอง เป็นการทำงานที่มุ่งเน้นภารกิจ
84
Q

หลัก ๔ ประการในการทำงานมุ่งเน้นภารกิจด้านข่าวกรอง

A
  • การบริหารจัดการที่มีการบูรณาการภารกิจ (Integrated Mission Management)
  • การรวบรวมข่าวสารที่พร้อมปรับตัว (Adaptive Collection)
  • การวิเคราะห์ร่วมกัน (Collaborative Analytics)
  • พันธมิตรทางยุทธศาสตร์ (Strategic Parntnerships)
85
Q

การบริหารจัดการงานข่าวกรองที่มีการบูรณาการภารกิจจะต้อง

A
  • เป็นการดึงผู้เชี่ยวชาญและแหล่งข่าวที่หลากหลายและกระจัดกระจาย มาร่วมปฏิบัติภารกิจร่วมกัน
  • ช่วยเพิ่มความรวดเร็วในการรวบรวม วิเคราะห์
  • ลดขั้นตอนทางดิ่ง
  • ช่วยสร้างความกระจ่างในภารกิจของ ผบ.ช.
  • ช่วยพัฒนา สร้าง แพร่กระจาย สิ่งใหม่
  • ความสมบูรณ์ของงาน และลดการซ้ำซ้อน
86
Q

การรวบรวมข่าวสารที่พร้อมปรับตัวเพื่อ

A
  • แก้ปัญหาความไม่แน่นอน
  • ทำให้ประชาคมรวบรวมข่าวสาร ปรับตัวให้เข้ากับโอกาส และสิ่งท้าทายได้เร็ว
  • สร้างระบบการรวบรวมข่าวแบบมีบูรณาการและหลายหลาย
  • อ่อนตัวในการกำหนดสัดส่วนการหาข่าว ดำเนินการ และใช้ประโยชน์
  • ความเร่งด่วนของข่าวทางเปิดกับทางลับ
87
Q

แหล่งรวบรวมข่าวสารที่สำคัญที่สุด

A

แหล่งข่าวเปิด

88
Q

ทำไมจึงต้องมีการวิเคราะห์ข่าวร่วมกัน

A
  • เป็นสิ่งจำเป็นในยุคข้อมูลข่าวสาร
  • แก้ปัญหาข้อมูลที่ล้นฐานข้อมูล
  • วิเคราะห์ร่วมกันโดยมีศูนย์กลางที่ภารกิจ
  • ถกแถลงแต่เนิ่น
  • ปรับข้อมูลให้ทันสมัยไปพร้อมกัน
  • กำจัดข้อมูลที่ไม่จำเป็นโดยใช้เทคโนโลยี
89
Q

ความสำคัญของพันธมิตรข่าวกรองทางยุทธศาสตร์

A
  • จำเป็นต่อการตอบรับภัยคุกคามที่หลากหลายขึ้น จำกัดด้านงบประมาณ และต้องวิเคราะห์ในเชิงลึก
  • ขยายวงจากประชาคมข่าวกรอง สู่วิสาหกิจข่างกรอง
  • แบ่งแยกระดับของการแบ่งปันข่าวสารข่าวกรอง โดยยึดหลักอ่อนตัว และปลอดภัย
90
Q

รัฐวิสาหกิจข่าวกรองของสหรัฐ

A
  • Net-Centric Information Enterprise
  • เข้าถึงฐานข้อมูลร่วมกัน
  • บูรณาการ จนท. กระบวนการ เทคโนโลยี
  • ลงทุนบุคลากร ด้านภาษา วัฒนธรรม เข้าใจประชาชน
  • คุ้นเคยกับการทำงานร่วมกัน ประสานงานกัน
  • เข้าใจ และปรับตัวไปตามเทคโนโลยี
91
Q

หน่วยข่าวกรอง กห. ของสหรัฐคือ

A

DIA (Defense Intelligence Agency)

92
Q

ศูนย์รวมของประชาคมข่าวกรองที่รวมเอาหน่วยข่าวต่าง ๆ ของ กห. ที่อยู่ในพื้นที่ PACOM (United States Pacific Command) คือ

A

JIOC

93
Q

บทเรียนที่ได้จากการบูรณาการข่าวกรองของสหรัฐ

A
  • การปรับเปลี่ยนวงรอบข่าวกรองในการปฏิบัติงาน
  • การเปลี่ยนวัฒนธรรมไปเป็นการแบ่งปันข้อมูลข่าวสาร และข่าวกรอง
  • การทำงานร่วมกันในศูนย์รวมที่เรียกกันว่า “Fusion Cell” หรือ “Fusion Center”
  • เปลี่ยนการดำเนินงานด้านการข่าวจากมุ่งเน้นองค์กรของตนเป็นการมุ่งเน้นภารกิจของชาติ
  • ความพยายามในการพัฒนาเครือข่ายด้านการข่าวไปสู่การเป็น วิสาหกิจข่าวกรอง (Intelligence Enterprise)
94
Q

พลังอำนาจแห่งชาติของสหรัฐฯ

A

การทูต, เศรษฐกิจ, ข้อมูลข่าวสาร และ การทหาร

95
Q

การจัดแบ่งหน่วยข่าวกรอง ๓ ระดับ

A
96
Q

ตำแหน่งสำคัญในคณะกรรมการอำนวยการข่าวกรองแห่งชาติ

A
  • นรม. หรือ รอง นรม. เป็นประธาน
  • เลขา สมช. เป็นกรรมการและเลขานุการ
  • กรรมการระดับ ปลัด กต. มท. กค. พณ. กระทรวงวิทยาศาสตร์ ผบ.ตร. ผอ.สขช. เสธ.ทหาร เสธ.กอ.รมน. เสธ.เหล่าทัพ ผู้ว่าการธนาคาร ผบ.ศรภ.
  • หน่วยงานข่าวยึดถือแนวทางของคณะกรรมการฯ ไปปฏิบัติ
97
Q

คณะกรรมการอำนวยการข่าวกรอง กห.

A
  • กำหนดนโยบาย และแผนงานข่าวกรอง และการต่อต้านข่าวกรองของหน่วยข่าวทหาร
  • ประสานงาน กำกับดูแลหน่วยข่าวกรองทหาร และแลกเปลี่ยนข่าวสารกับหน่วยนอก กห. แต่งตั้งอนุกรรมการฯ

-เสธ.ทหาร เป็นประธาน รอง จก.ขว.ทหาร เป็นกรรมการและเลขานุการ

98
Q

การจัดหน่วยข่าวกรองกองทัพไทย ๒ ระดับ

A

ระดับ บก.ทท.
ระดับเหล่าทัพ

99
Q

หน่วยข่าวกรองของ บก.ทท.

A
  • กรมข่าวทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย (ขว.ทหาร)
  • ฝ่ายการข่าว ศูนย์บัญชาการกองทัพไทย (ฝขว.ศบท.)
  • ศูนย์รักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย (ศรภ.)
  • กรมแผนที่ทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย (ผท.ทหาร)
  • กรมการสื่อสารทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย (สส.ทหาร)
  • กรมกิจการชายแดน กองบัญชาการกองทัพไทย (ชด.ทหาร)
  • หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา กองบัญชาการกองทัพไทย (นทพ.)
100
Q

หน่วยข่าวกรองของ ทบ.

A
  • กรมข่าวทหารบก (ขว.ทบ.)
  • ฝ่ายข่าว ศูนย์ปฏิบัติการกองทัพบก (ฝขว.ศปก.ทบ.)
  • หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ (นสศ.)
  • หน่วยข่าวกรองทางทหาร (ขกท.)
  • กองพันข่าวกรองทางทหาร กองทัพบก (พัน.ขกท.)
  • กองพันปฏิบัติการข่าว (พัน.ปบ.ข่าว)
  • กองร้อยทหารปืนใหญ่ค้นหาเป้าหมาย (ร้อย.ป.คปม.)
  • กองกำลังในพื้นที่ชายแดน (กกล.)
  • หน่วยมณฑลทหารบก/จังหวัดทหารบก (มทบ./จทบ.)
101
Q

หน่วยข่าวกรองของ ทร.

A
  • กรมข่าวทหารเรือ (ขว.ทร.)
  • ฝ่ายการข่าว ศูนย์ปฏิบัติการกองทัพเรือ (ฝขว.ศปก.ทร.)
  • กองกำลังป้องกันชายแดนจันทบุรี-ตราด (กปช.จต.)
  • หน่วยเฉพาะกิจนาวิกโยธิน กองทัพเรือ (ฉก.นย.ทร.)
  • กองทัพเรือภาค (ทรภ.๑-๓)
  • หน่วยเรือรักษาความสงบเรียบร้อยตามลำแม่น้ำโขง (นรข.)
102
Q

หน่วยข่าวกรองของ ทอ.

A
  • กรมข่าวทหารอากาศ และฝ่ายข่าวศูนย์ปฏิบัติการกองทัพอากาศ (ขว.ทอ./ฝขว.ศปก.ทอ.)
  • กรมควบคุมการปฏิบัติทางอากาศ (คปอ.)
  • กรมลาดตระเวนทางอากาศ (ลวอ.)
103
Q

หน่วยข่าวกรอง อื่นๆ ของกองทัพ

A
  • ส่วนการข่าว กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายใน (สขว.กอ.รมน.)
  • กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน (บช.ตชด.)