ยุทธศาสตร์ Flashcards
สภาวะแวดล้อมที่เกี่ยวกับความมั่นคง
-ความขัดแย้งในตะวันออกกลาง -การคุกคามทางไซเบอร์มีมากขึ้น -เอเชีย - แปซิฟิก มีหลายปัญหา -เอเชีย ตอ./ต. เป็นพื้นที่ช่วงชิง -การรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียนในปี ๕๘
สถานการณ์กับประเทศรอบบ้านกระทบความมั่นคง
-กัมพูชา : ปัญหาเส้นเขตแดน/แย่งทรัพยากร -เมียนมาร์ : เมื่อมีเสถียรภาพ อาจพิพาทกับไทย -มาเลเซีย : การพัฒนาทางทหารอาจเปลี่ยนสมดุล -เวียดนาม : กำลังทางเรือกระทบความมั่นคงทางทะเล -ลาว : ปัญหาเขตแดนบางส่วน
สถานการณ์ในประเทศกระทบความมั่นคง
-การล่วงละเมิดสถาบันฯ -ปัญหา จชต. -ปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติ -การลักลอบเข้าเมืองผิดกฎหมาย -ยาเสพติด สิ่งแวดล้อม และภัยธรรมชาติ
ภัยคุกคามไทยในรูปแบบดั้งเดิม
-การเสริมสร้างกำลังทหารของประเทศเพื่อนบ้าน -ความไม่สงบในประเทศเพื่อนบ้าน -ความขัดแย้งทางทหาร จากปัญหาเขตแดน การแย่งชิงทรัพยากรและแหล่งพลังงาน -โอกาสสูงสุดที่จะเกิดความขัดแย้ง มาจากทางด้านตะวันออกเป็นลำดับแรก ด้านตะวันตกและด้านใต้เป็นลำดับถัดไป
ภัยคุกคามไทยในรูปแบบใหม่
-การล่วงละเมิดสถาบัน -ความแตกแยกในสังคมไทย -ปัญหา จชต. -อาชญากรรมข้ามชาติ -ภัยคุกคามทางไซเบอร์ -การลักลอบเข้าเมือง -ยาเสพติด -ปัญหาสิ่งแวดล้อม/ภัยธรรมชาติ -โรคระบาด/โรคติดต่อ
แนวคิดยุทธศาสตร์ด้านสร้างความร่วมมือด้านความมั่นคง
-การพิจารณาใช้ทรัพยากรทางทหารสนับสนุนรัฐบาล -สร้างความร่วมมือกับประเทศต่างๆ ทั้งทวิภาคีและพหุภาคี -สร้างบรรยากาศความเป็นมิตร ลดเงื่อนไขที่อาจเกิดขึ้น -ยึดมั่นหลักการแนวความคิดเชิงป้องกัน (Preventive) -การดำเนินงานการทูตโดยฝ่ายทหาร (Defence Diplomacy)
การดำเนินงานการทูตฝ่ายทหารได้แก่
-พบปะหารือ แลกเปลี่ยนการเยือน -การดำเนินการของ ผชท.ทหาร -การพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยทหาร -การพัฒนาพื้นที่ข้ามชายแดน เพื่อพัฒนาเศรฐกิจร่วมกัน -การปฏิบัติการเพื่อสันติภาพในภูมิภาคต่างๆ -การเสริมสร้างความสัมพันธ์ -การทูตโดยฝ่ายทหาร -การพัฒนาความร่วมมือกับต่างประเทศ -การแลกเปลี่ยนข่าวกรอง -การปฏิบัติภารกิจเพื่อสันติภาพ -การเสริมสร้างความมั่นคงของประชาคมอาเซียน -เร่งรัดการสำรวจและจัดทำหลักเขตแดน -ความร่วมมือในการรักษาความสงบเรียบร้อยบริเวณชายแดน
รูปแบบการดำเนินงานความร่วมมือทางทหาร
-ทวิภาคี : สหรัฐ , จีน , เยอรมนี , ญี่ปุ่น , อินเดีย ,ออสเตรเลีย , นิวซีแลนด์ , ฯลฯ -พหุภาคี : ASEAN Defence Ministers Meeting (ADMM), ASEAN Regional Forum (ARF), ASEAN Regional Forum (IISS), etc
ADMM PLUS คือ
การประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนกับกลาโหมประเทศคู่เจรจา 8 ประเทศ (สหรัฐ, รัสเซีย, จีน, เกาหลีใต้, นิวซีแลนด์, ออสเตรเลีย, ญี่ปุ่น, อินเดีย)
กิจกรรมความร่วมมือในกรอบ ADMM
-การใช้ทรัพยากรและศักยภาพทางทหารอาเซียนในการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบัติ อินโดนีเซียเป็นผู้ริเริ่ม จัด Workshop 3 ครั้ง -ความร่วมมือระหว่างกลาโหมอาเซียนกับองค์กรภาคประชาสังคมในด้านความมั่นคงรูปแบบใหม่ การช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบัติ ไทยเป็นผู้ริเริ่ม จัด Workshop 3 ครั้ง -ความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศอาเซียน มาเลเซียเป็นผู้ริเริ่ม เอกสารว่าด้วยความร่วมมือด้านอุตสาหกรรม ป้องกันประเทศของอาเซียน -การจัดตั้งเครือข่ายศูนย์ปฏิบัติการรักษาสันติภาพของอาเซียน ไทยและอินโดนีเซียเป็นผู้ริเริ่ม เอกสารแนวความคิดว่าด้วยการจัดตั้งเครือข่ายศูนย์ปฏิบัติการรักษาสันติภาพของอาเซียน
กิจกรรมความร่วมมือในกรอบ ADMM PLUS
จัดตั้งคณะทำงานผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน (EWGs) -ด้านการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบัติ วน. และ สปจ. -ด้านความมั่นคงทางทะเล มซ. และ อต. -ด้านการแพทย์ทางทหาร สป. และ ญป. -ด้านการต่อต้านการก่อการร้าย อซ. และ สหรัฐฯ -ด้านการปฏิบัติการรักษาสันติภาพ ฟป. และ นซ.
แนวคิดยุทธศาสตร์ด้านการผนึกกำลังป้องกันประเทศ
-การนำทรัพยากรที่เป็นพลังอำนาจของชาติทุกประเทศ มาบูรณาการอย่างมีระเบียบแบบแผนตั้งแต่ยามปกติ -แก้ไขข้อจำกัดของชาติและชดเชยอำนาจกำลังรบ -เพื่อสามารถป้องกันประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ -ปัจจัยแห่งความสำเร็จ: ความสามัคคีของคนในชาติ -การสนธิทรัพยากรของประเทศเพื่อต่อสู้ภัยคุกคามทุกรูปแบบ -การพัฒนาและเสริมสร้างระบบงานในพื้นที่ส่วนหลัง -การพิทักษ์รักษาและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ -การสร้างความสมานฉันท์ของคนในชาติและฟื้นฟูประชาธิปไตย -การแก้ไขปัญหาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ -การคุ้มครองและรักษาผลประโยชน์แห่งชาติ -การสนับสนุนโครงการพระราชดำริ การพัฒนา บรรเทาภัยพิบัติ -การแก้ไขปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติ -การแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดภายในประเทศ -การแก้ไขปัญหาโรคระบาดและโรคติดต่อ -การเตรียมพร้อมสนับสนุนการปฏิบัติภารกิจเมื่อได้รับมอบหมายจากรัฐบาล
แนวคิดยุทธศาสตร์ด้านการป้องกันเชิงรุก
-จัดเตรียมพัฒนากำลังให้กองทัพสามารถพึ่งพาตนเองได้ -มีความพร้อมเข้าแก้ไขและยุติปัญหาโดยฝ่ายเราได้เปรียบ -เน้นมาตรการด้านการข่าวอย่างต่อเนื่องเชิงลึก -มีระบบแจ้งเตือนและเฝ้าตรวจที่มีประสิทธิภาพ -พร้อมรับสถานการณ์ทั้งในยามปกติและยามสงคราม -รบหนึ่งด้าน และป้องกันหนึ่งด้านในเวลาเดียวกัน -พื้นที่การรบแตกหักอยู่บริเวณแนวชายแดน -ความคล่องแคล่วในการเคลื่อนที่
มาตรการในการป้องกันเชิงรุก
-การเตรียมกำลังและใช้กำลังเพื่อการป้องปราม แก้ไข และยุติความขัดแย้ง ภัยคุกคามทางด้าน ตอ. เป็นลำดับแรก -ด้าน ตต. และ ใต้ เป็นลำดับถัดไป -การดำเนินมาตรการด้านการข่าวอย่างต่อเนื่องและกว้างขวาง -การพัฒนาและปรับปรุงระบบการบริหารจัดการ การสนับสนุน การรบ การเสริมสร้างการช่วยรบ และการระดมสรรพกำลัง ให้มีประสิทธิภาพ -การเสริมสร้างและพัฒนากำลังพล
งานด้านการทูต Who?
Who?: -ออท., ขรก.สอท., ขรก.สน.ผชท.ทหาร -ผชท.ทหารต่างประเทศ ณ ประเทศที่ไปประจำการ -ผบช.ระดับสูง และเจ้าหน้าที่ กห.ประเทศที่ไปประจำการ -เครือข่ายงานยุทธศาสตร์
งานด้านการทูต What?
-งานประชุม, สัมมนา -งาน Luncheon, Reception/Dinner -งานอื่นๆ -MAC Tour
งานด้านการทูต Why?
งานด้านการทูต จะสนับสนุนงานด้านการข่าว