Radiation Hazard Flashcards

1
Q

รังสีทำให้เกิด free radical ได้ยังไง

A
  1. ทางตรง (1/3) : ชีวโมเลกุลใหญ่แตกตัวเลย ได้อนุมูลอิสระ
  2. ทางอ้อม (2/3) : น้ำแตกตัวเป็นประจุ ได้อนุมูลอิสระ
How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
2
Q

Interaction ระหว่าง Photons กับสสารมีกระบวนการใดบ้าง

A
  1. Coherent Scattering
  2. Photoelectric effect
  3. Compton Scattering
  4. Pair production
  5. Photodisintegration
How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
3
Q

Coherent scattering คือ

A

วิ่งเฉียด แล้วเบี่ยงเบน ไม่เกิดผลอะไร

(ไม่ค่อยมีผล)

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
4
Q

Photoelectric absorbtion คือ

A

ชน e- วงใน จนหลุดเป็น photoelectron ทำให้ e- วงนอกวิ่งมาแทนที่ แล้วคายพลังงานออกมา

โฟตอนถ่ายทอดพลังงานทั้งหมดให้ e-

(เจอบ่อย)

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
5
Q

Compton scattering คือ

A

ชน e- รอบนอก เกิด compton electron หลุดออกมา กับ scattered x-ray ที่ยังเหลือพลังงานอยู่บางส่วน

(เจอบ่อย)

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
6
Q

Pair production คือ

A

โฟตอนพลังงาน 1.02 MeV วิ่งไปใกล้นิวเครียส แล้วแตกเป็น Positron กับ Electron

Positron ไปจับ free electron ในชั้นบรรยากาศ เกิด Annihilation

ได้ Photon (0.51 MeV) 2 ตัว ที่ตั้งฉากกัน

(เจอบ่อย)

*Positron emission tomography (PET)

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
7
Q

Photodisintegration คือ

A

โฟตอนพลังงานสูงมากชน nucleus จนโปรตอนหรือนิวตรอนหลุดออกมา

(เจอน้อย)

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
8
Q

การตอบสนองของเซลล์ต่อรังสีขึ้นกับ (4)

A
  1. Dose
  2. Dose rate
  3. Oxygen
  4. Linear energy transfer (LET)
How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
9
Q

Radiation แค่ไหนที่ induce ให้เกิด malformation

ลองเทียบกับจำนวนการทำ CT pelvic และ conventional Dx x-ray

และ flu

A

100 mGy

= ทำ CT pelvic 3 ครั้ง

= ทำ conventional Dx x-ray 20 ครั้ง

= ทำ Fluoroscopically guided interventional procedures 1 ครั้ง

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
10
Q

หลักการป้องกันอันตรายจากรังสีของ ICRP 3 ข้อ

A
  1. Justification : ประโยชน์มากกว่าโทษ
  2. Optimization : ต่ำสุดเท่าที่จะเป็นไปได้
  3. Limitation : ไม่เกินเกณฑ์
How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
11
Q

Dose Limit สำหรับผู้ปฏิบัติงานด้านรังสี

A
  1. ต่อปีห้ามเกิน 50 mSv
  2. เฉลี่ย 5 ปี ห้ามเกิน 20 mSv

ในกรณีคนท้อง

  1. เฉลี่ยไม่เกิน 0.2 mSv ต่อเดือน (คิดตาม dose rate)
  2. รวมตลอดตั้งครรภ์ห้ามเกิน 2 mSv
How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
12
Q

Dose Limit ของคนทั่วไป

A

1 mSv

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
13
Q

ความสัมพันธ์ของ Dose rate และ Distance

A
How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
14
Q

Pocket Dosimeter คือ

A

คล้ายปากกา ไว้วัดรังสีในโรงไฟฟ้า

ข้อดีคืออ่านค่าได้ทันที แต่แพง

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
15
Q

Film Badge คือ

A

ปัจจุบันไม่ใช้แล้วเพราะอายุการใช้งานแค่ 2 เดือน

ข้อดี

  1. วัดปริมาณรังสีได้ในช่วงกว้าง
  2. บันทึกรังสีได้หลายชนิดในแผ่นเดียว
  3. อ่านซ้ำได้ เก็บข้อมูลเป็นหลักฐานได้
How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
16
Q

Thermoluminescent Dosimeter (TLD)

A

แผ่นกลมๆ ใส่ที่ข้อมือ เอาไปเผาเพื่อดู

ข้อดี

  1. วัดปริมาณรังสีได้ในข่วงกว้าง
  2. นำกลับมาใช้ใหม่ได้

ข้อเสีย

ข้อมูลจะหายหลังเผา ไม่สามารถอ่านค่าซ้ำได้

17
Q

Optically-Stimulated Luminescence (OSL) คือ

A

อ่านค่าโดยใช้เลเซอร์กระตุ้น แล้ววัดแสงน้ำเงินที่คายออกมา

18
Q

ปัจจุบันเรานิยมใช้เครื่องวัดปริมาณรังสีตัวไหน เพราะอะไร

A

Optically-Stimulated Luminenscence (OSL)

ข้อดี

  1. อ่านซ้ำได้
  2. เที่ยงตรง
  3. ทน envi (ทนทาน)
19
Q

หลัก ALARA คือ

A

ALARA stands for “as low as reasonably achievable”

20
Q

Radiation protection organization ในประเทศไทย และหน้าที่

A

Division of Radiation and Medical Devices

(สำนักงานรังสีและเครื่องมือแพทย์)

-> ตรวจสอบมาตรฐานของเครื่อง Xray

Office of Atoms for Peace

(สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ)

-> ดำเนินการออกใบอนุญาติผลิตและใช้พลังงานจากรังสี Xray

21
Q

Dose level for Mammography

A

without grid = 1 mSv

with grid = 3 mSv

*Grid ช่วยเพิ่ม contrast (ความคมชัด)

22
Q

Dose levels for fluoroscopy

A

Normal = 25 mSv

Intervention Radiology = 100 mSv

23
Q

เทคนิคปรับ kVp…….. mAs……… จะช่วยลดปริมาณรังสีที่ผู้ป่วยได้รับ

A

kVp สูง mAs ต่ำ

24
Q

10 days rule คือ

A

การ Xray ในผู้ป่วยที่สงสัยการตั้งครรภ์ควรทำระหว่าง 10 วันแรกนับตั้งแต่ LMP

25
Q

สัญลักษณ์เตือนภัยทางรังสี

A

ม่วง พื้นเหลือง

26
Q

การเลือกชนิดของ Filtration คู่กับ kVp เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการใช้งานเครื่อง Xray

A

Filtration 0.5 mm.Al กับ 50 kVp

Filtration 1.5 mm.Al กับ50-70 kVp

27
Q
A