CPA Flashcards

mid

1
Q

วัตถุประสงค์ของ การสอบบัญชี

A

คือ เพิ่มระดับความเชื่อมั่นของผู้ใช้งบการเงินที่มีต่องบการเงินการบรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าวเกิดขึ้นได้โดยการแสดงความเห็นของผู้สอบบัญชีว่างบการเงินได้จัดทำในสาระสำคัญตามแม่บทการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องหรือไม่

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
2
Q

ความรับผิดชอบของผู้บริหารต่องบการเงิน

A

จัดให้มีการจัดทำการบัญชี จัดทำงบการเงิน โดยต้องเป็นไปตามที่กฏหมายกำหนด และงบการเงินต้องได้รับการตรวจสอบจาก CPA

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
2
Q

ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่องบการเงิน

A

การเงิน ผู้สอบบัญชีมีหน้าที่ตรวจสอบงบการเงินและแสดงความเห็นต่องบการเงินตาม พรบ บัญชี 2543
ว่า งบการเงินโดยรวมมิได้แสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญ และได้จัดทำขึ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการงิน

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
3
Q

ขั้นตอนการเป็น CPA

A
  1. เป็นสมาชิกสภาวิชาชีพบัญชี
    2.สำเร็จการศึกษาวิชาการบัญชีไม่ต่ำกว่าระดับปริญญาตรีหรือวุฒิอื่นเทียบเท่าปริญญาตรีสาขาวิขาการบัญชีที่สภาวิชาชีพบัญชีรับรอง
    3.ฝึกหัดงานที่ได้รับการรับรองจากสภาวิชาชีพบัญชี เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 3000 ชม.
    4.ดำเนินการยื่นคำขอขึ้นทะเบียนเป็นผู้สอบบัญชีรับอนุญาตต่อสภาวิชาชีพบัญชี
    5.ได้รับใบอนุญาตเป็นผู้สอบบัญชีรับอนุญาต (CPA) จากสภาวิชาชีพบัญชี
How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
4
Q

พรบ วิชาชีพบัญชี 2547

A

วิชาชีพบัญชี หมายความว่า วิชาชีพในด้านการทำบัญชี ด้านการสอบบัญชี ด้านการบัญชีบริหาร ด้านการวางระบบบัญชี ด้านการบัญชีภาษีอากร ด้านการศึกษาและเทคโนโลยีการบัญชี และด้านอื่นๆ

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
5
Q

จรรยาบรรณของวิชาชีพสอบบัญชี

A
  1. ความซื่อสัตย์สุจริต
  2. ความเที่ยงธรรมและความเป็นอิสระ
  3. ความรู้ ความสามารถ ความเอาใจใส่ การรักษามาตรฐานในการปฏิบัติงาน
  4. การรักษาความรับ
  5. พฤติกรรมทางวิชาชีพ
    6.ความโปร่งใส
How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
6
Q

สิ่งที่ผู้บริหารได้ให้การรับรองไว้เกี่ยวกับการเงิน 7

A

1.ความมีอยู่จริง
2.เกิดขึ้นจริง
3.ความครบถ้วน
4.ความถูกต้อง
5.การแสดงมูลค่า
6.สิทธิและภาระผูกพัน
7.แสดงรายการและการเปิดเผยข้อมูล

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
7
Q

วิธีการได้มาซึ่งหลักฐานการสอบบัญชี 7วิธี

A
  1. การตรวจ
  2. การสังเกตการณ์
  3. การสอบถาม
  4. การขอคำยืนยัน
  5. การคำนวณ
  6. การปฎิบัติซ่ำ
  7. การวิเคราะห์เปรียบเทียบ
How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
8
Q

Vouching เน้นอะไร จากอะไรไปไหน

A

เน้น ความมีอยู่จริงหรือเกิดขึ้นจริง
บันทึกทางการบัญชี -> เอกสารเบื้องต้น

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
9
Q

Tracing เน้นอะไร จากอะไรไปไหน

A

ความครบถ้วนและความถูกต้อง
เอกสารเบื้องต้น -> บันทึกทางการบัญชี

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
10
Q

ประเภทของการตรวจสอบ 3

A

1.วิธีการประเมิณความเสี่ยง
2. การทดสอบการควบคุม
3. วิธีการตรวจสอบเนื้อหาสาระ

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
11
Q

ประเภทของการตรวจสอบ ตรวจอย่างไร
1.วิธีการประเมิณความเสี่ยง

A

-การวิเคราะห์เปรียบเทียบ
-การสังเกตการณ์ และการตรวจสอบ

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
12
Q

ประเภทของการตรวจสอบ ตรวจอย่างไร
2. การทดสอบการควบคุม

A

การสอบถามและการสังเกตการณ์

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
13
Q

ประเภทของการตรวจสอบ ตรวจอย่างไร
3. วิธีการตรวจสอบเนื้อหาสาระ

A

-การทดสอบรายละเอียดของประเภทรายการ
-การทดสอบรายละเอียดของยอดคงเหลือ

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
14
Q

การพิจารณารับงานสอบบัญชี

A

งานตรวจสอบกิจการที่มีความเสี่ยงสูง หรือกิจการที่ผู้บริหารมีเจตนาไม่สุจริต ย่อมทำให้ผู้สอบบัญชีมีความยากลำบากในการตรวจสอบและอาจตรวจไม่พบข้อผิดพลาด ซึ่งอาจทำให้ถูกฟ้องร้อง มีความสงสัยในการปฎิบัติงานของผู้สอบบัญชี

How well did you know this?
1
Not at all
2
3
4
5
Perfectly
15
Q

ผู้สอบบัญชีตอบรับงานสอบบัญชีทั้งลูกค้ารายใหม่และรายเดิมแล้วผู้สอบบัญชีต้องแจ้งรายชื่อลูกค้าที่ตนจะลงลายมือชื่อเข้าสู่ระบบแจ้งและยืนยันรายชื่อธุรกิจที่เว็บไซต์

A

www.tfac.or.th และผู้สอบบัญชีรับงานสอบบัญชีได้ไม่เกิน 200 ราย/คน/ปี

16
Q

การกำหนดระดับความมีสาระสำคัญ

A

หมายถึง รายการ หรือเหตุการณ์ทางบัญชีซึ่งหากผู้ใช้งบการเงินไม่ได้รับทราบแล้ว อาจตัดสินใจผิดไปจากกรณีได้รับทราบ

17
Q

ความเสี่ยงในการสอบบัญชี 3

A
  1. ความเสี่ยงสืบเนื่อง
  2. ความเสี่ยงจากการควบคุม
  3. ความเสี่ยงจากการตรวจสอบ
18
Q

ความเสี่ยงในการสอบบัญชี
1. ความเสี่ยงสืบเนื่อง

A

ยอดคงเหลือของบัญชี ประเภทของรายการ

19
Q

ความเสี่ยงในการสอบบัญชี
2. ความเสี่ยงจากการควบคุม

A

ระบบการควบคุมภานในของกิจการ

20
Q

ความเสี่ยงในการสอบบัญชี
3. ความเสี่ยงจากการตรวจสอบ (CPA รับผิดชอบ)

A

การตรวจสอบเนื้อหาสาระ